การขับเคลื่อน ด้านการตลาดเกษตรอินทรีย์ไทย สิทธิพร บางแก้ว พาณิชย์จังหวัดสุรินทร์ ผู้อำนวยการศูนย์ปฏิบัติการข้อมูลการตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์
แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาเกษตรอินทรีย์แห่งชาติ ยุทธศาสตร์ที่ 1 การเสริมสร้างและบริหารจัดการองค์ความรู้และนวัตกรรม ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาการผลิตเกษตรอินทรีย์ตลอดทั้งห่วงโซ่อุปทาน ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งด้านการตลาดและมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ไทย ยุทธศาสตร์ที่ 4 การบูรณาการเพื่อขับเคลื่อนเกษตรอินทรีย์ไทย 2
กลยุทธ์การส่งเสริมการค้าสินค้าเกษตรอินทรีย์ของกระทรวงพาณิชย์ 1. การพัฒนาผู้ประกอบการด้านการตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ (Capacity Building) 2. การขยายตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ในและต่างประเทศ (Market Expansion) 3. การสร้างมูลค่าสินค้าเกษตรอินทรีย์ และผลิตภัณฑ์ตามความต้องการของตลาด (Value Creation) 4. การสนับสนุนการสร้างสิ่งอำนวยความสะดวกทางการค้า (Trade Facilitation) 3
ปริมาณและมูลค่าผลผลิตเกษตรอินทรีย์ไทย ปี พ.ศ. 2547 ปี พ.ศ. 2550 ปี พ.ศ. 2553 ปริมาณ(ตัน) มูลค่า(ล้านบาท) ข้าว 7,827.41 313.10 13,467.07 373.41 23,515.8 752.5 พืชไร่ 1,571.96 55.02 2,934.14 65.87 13,071.0 365.99 ผักและสมุนไพร 2,656.76 159.40 5,336.76 297.18 2,114.3 105.72 ไม้ผล 3,833.10 76.66 11,930.40 236.61 4,050.8 153.93 ชา-กาแฟ NA 1,057.2 190.30 ไม่สามารถจำแนก 3,524.8 140.99 อื่น 76.88 4.61 9.10 1.77 213.5 42.69 รวม 15,966.08 608.79 33,677.47 974.84 47,547.3 1,752.1 ที่มา : กรีนเนท (GREEN NET ), www.greennet.or.th 4
ช่องทางจำหน่าย ร้านสะดวกซื้อ ร้านอาหารเพื่อสุขภาพ Convenience Store Supermarket ร้านอาหารเพื่อสุขภาพ Special Shop ร้านขายตรง Direct Sale ตลาดนัดสมาชิกเกษตรกร CSA : Community Support Agriculture การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ โรงแรม resort spa Agro-Tourism การซื้อขายผ่านInternet ร้านอาหาร Health Food ขายเป็นวัตถุดิบให้โรงงาน Manufacturing การซื้อขายจำนวนมาก/ครั้ง โรงเรียน โรงพยาบาล etc. Green Procurement
เป้าหมาย การพัฒนาธุรกิจอินทรีย์สู่ความยั่งยืน เป็นศูนย์กลางสินค้าอินทรีย์ในภูมิภาคอาเซียน (Organic Hub of ASEAN) เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจของสินค้าอินทรีย์ กระตุ้นการบริโภคสินค้าอินทรีย์ให้ได้รับ ความนิยมเป็นที่รู้จัก ทั้งในและต่างประเทศ การพัฒนาธุรกิจอินทรีย์สู่ความยั่งยืน
การพัฒนาผู้ประกอบการ (Capacity building) ฝึกอบรม/สัมมนา ผู้ประกอบการ - การตลาดทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ - การพัฒนาผลิตภัณฑ์ - การทำธุรกิจเกษตรอินทรีย์
การพัฒนาผู้ประกอบการ (Capacity building) (ต่อ) การสัมมนาระดับนานาชาติ (Organic Symposium)
การสร้างมูลค่าสินค้าอินทรีย์และผลิตภัณฑ์ (value Creation) -พัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ เพิ่มผลิตภัณฑ์ใหม่ -ทรัพย์สินทางปัญญา เช่น GI Brand -สนับสนุนธุรกิจเกษตรอินทรีย์ เช่น โรงแรม ร้านอาหาร สปา -ส่งเสริมการรับรองมาตรฐานสินค้า
ขยายตลาดสินค้าอินทรีย์ทั้งในและต่างประเทศ (Market Expansion) ตลาดในประเทศ -จัดงานแสดงสินค้าเกษตรอินทรีย์ระดับชาติ (organic & Natural Expo) -ร่วมงาน Thaifex World of Food Asia) -จัดงานแสดงสินค้าเกษตรอินทรีย์ระดับจังหวัด/ภาค
ขยายตลาดสินค้าอินทรีย์ทั้งในและต่างประเทศ (Market Expansion) ตลาดในประเทศ (ต่อ) -จัดงานแสดงสินค้าเกษตรอินทรีย์ระดับชาติ (organic & Natural Expo)
ขยายตลาดสินค้าอินทรีย์ทั้งในและต่างประเทศ (Market Expansion) ตลาดในประเทศ (ต่อ) -ร่วมงาน Thaifex World of Food Asia)
เข้าร่วมงานแสดงสินค้าเกษตรอินทรีย์ในประเทศ
ขยายตลาดสินค้าอินทรีย์ทั้งในและต่างประเทศ (Market Expansion) ตลาดในประเทศ (ต่อ) -จัดงานแสดงสินค้าเกษตรอินทรีย์ระดับจังหวัด/ภาค
ขยายตลาดสินค้าอินทรีย์ทั้งในและต่างประเทศ (Market Expansion) (ต่อ) ตลาดในประเทศ (ต่อ) *จัดกลุ่มธุรกิจสินค้าเกษตรอินทรีย์ (Organic Business Community) - ตลาดกลุ่มสินค้าอินทรีย์แบบถาวร เช่น ร้านค้า ศูนย์อินทรีย์ - ตลาดกลุ่มสินค้าอินทรีย์แบบชั่วคราว เช่น ตลาดนัด ตลาดสีเขียว
ขยายตลาดสินค้าอินทรีย์ทั้งในและต่างประเทศ ตลาดในประเทศ (ต่อ) *สนับสนุนตลาดขายตรง -ตลาดที่ผู้ซื้อสนับสนุนผู้ผลิต (CSA) *สนับสนุนตลาดที่เป็นธรรม (Fair Trade) ขยายตลาดสินค้าอินทรีย์ทั้งในและต่างประเทศ (Market Expansion)
การส่งเสริมภาพลักษณ์สินค้าอินทรีย์ การสื่อสารกับผู้บริโภคผ่านสื่อ การผลิตสื่อเพื่อเผยแพร่ผู้บริโภค การจัดทำกิจกรรมส่งเสริมภาพลักษณ์ เช่น การตักบาตร บนหลังช้างด้วยอาหารแห้งอินทรีย์ที่สุรินทร์
การส่งเสริมภาพลักษณ์สินค้าอินทรีย์ การสื่อสารกับผู้บริโภคผ่านสื่อ
การส่งเสริมภาพลักษณ์สินค้าอินทรีย์ การผลิตสื่อเพื่อเผยแพร่ผู้บริโภค
การส่งเสริมภาพลักษณ์สินค้าอินทรีย์ การจัดทำกิจกรรมส่งเสริมภาพลักษณ์ เช่น การตักบาตรบนหลังช้างด้วยอาหารแห้งอินทรีย์ที่สุรินทร์
ขยายตลาดสินค้าอินทรีย์ทั้งในและต่างประเทศ (Market Expansion) ตลาดต่างประเทศ - เข้าร่วมงานในต่างประเทศ เช่น Bio Fah, Anuga , Natural Product Expo West , All thing Organic) - จัดคณะผู้ประกอบการ/ภาครัฐ เดินทางไปเจรจาธุรกิจกับ ผู้นำเข้า / ซุปเปอร์มาเก็ต / Trader โดยตรง
งานแสดงสินค้าในต่างประเทศ
งานแสดงสินค้าในต่างประเทศ Anuga : Organic Hall 23
งานแสดงสินค้าในต่างประเทศ All Things Organic : Chicago, USA. OTA Information Counter and Business Lounge Organic Café Culinary Demonstration Area Organic Thai Hom Mali Rice 24
งานแสดงสินค้าในต่างประเทศ All Things Organic : Chicago, USA. 25
การสนับสนุนสิ่งอำนวยความสะดวกทางการค้า (Trade Facilitation) สำรวจจัดทำฐานข้อมูล Organic Mapping ตะวันออกเฉียงเหนือ เหนือ ใต้ กลาง
การสนับสนุนสิ่งอำนวยความสะดวกทางการค้า (Trade Facilitation) (ต่อ) พัฒนาศูนย์ปฏิบัติการข้อมูลการตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ (Organic Marketing Intelligence Center : OMIC) เว็บไซต์ www.organic.moc.go.th
ศูนย์ปฏิบัติการข้อมูลการตลาดสินค้าเกษตรอินทรีย์ Organic marketing Intelligence Center OMIC www.organic.moc.go.th
บริการของ OMIC ข้อมูลด้านการผลิต ข้อมูลด้านการตลาด 1.ปริมาณผลผลิตสินค้าเกษตร อินทรีย์ทุกชนิด 2.ทะเบียนผู้ผลิต 3.ข่าวสารการผลิต และมาตรฐาน สินค้าเกษตรอินทรีย์ ข้อมูลด้านการตลาด 1.ทะเบียนผู้ค้า แหล่งจำหน่าย 2.สถานการณ์การตลาดสินค้า เกษตรอินทรีย์ทั้งในและต่างประเทศ 3.ปฏิทินกิจกรรมด้านการตลาด สินค้าเกษตรอินทรีย์ทั้งใน และต่างประเทศ บริการของ OMIC ช่องทางการให้บริการ ข้อมูลข่าวสาร 1.เผยแพร่ทางwebsite http://www.organic.moc.go.th 2.เอกสารเผยแพร่ 3.ประชุม อบรม สัมมนา กิจกรรมส่งเสริมการตลาด 1.จัดงานแสดงและจำหน่าย สินค้า เจรจาธุรกิจ เชื่อมโยงตลาด 2.พัฒนาเพื่อเพิ่มสมรรถนะ ผู้ประกอบการ
Website : www.organic.moc.go.th จัดทำ Website : www.organic.moc.go.th
Website : www.organic.moc.go.th จัดทำ Website : www.organic.moc.go.th
บทเรียนจากประสบการณ์ด้านการตลาด สินค้าเกษตรอินทรีย์ ต้องหาและสร้างพันธมิตร เกษตรกร ผู้ประกอบการ ผู้เกี่ยวข้อง ต้องเข้าใจ ระบบเกษตรอินทรีย์อย่างแท้จริง ต้องมีความชัดเจนด้านมาตรฐานรับรองและปริมาณผลผลิต สร้างตลาดข้อตกลง การสนับสนุนภาครัฐ มาตรการแทรกแซงตลาดของรัฐบาล 32
Thank You ! www.themegallery.com