งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

BUSINESS TAXATION รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "BUSINESS TAXATION รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 BUSINESS TAXATION รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี kris161988@yahoo.com
25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

2 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภงด. จัดเป็นภาษีทางตรง ฐานภาษี คือ เงินได้สุทธิ เงินได้สุทธิ = เงินได้พึงประเมิน - ค่าใช้จ่าย - ค่าลดหย่อน ปีภาษี คือ ปีปฏิทิน กำหนดเวลายื่นแบบ 1 มกราคม ถึง 31 มีนาคม ของปีถัดไป บุคคลธรรมดา บางประเภทอาจต้องเสียภาษีบุคคลธรรมดาครึ่งปี บุคคลธรรมดา บางประเภทอาจต้องเสียภาษีบุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

3 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
บุคคลธรรมดา (ป.พ.พ. มาตรา 15) สัญชาติ , อายุ , โสด , สมรส ผู้ถึงแก่ความตาย กองมรดกที่ยังไม่ได้แบ่ง ห้างหุ้นส่วนสามัญ / คณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

4 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
เงินได้พึงประเมิน และแหล่งเงินได้ เงินได้พึงประเมิน (ประมวลรัษฎากร มาตรา 39) เงินบาท (สกุลอื่น แปลงค่าเป็นบาท ตามอัตราแลกเปลี่ยนในวันที่มีรายได้) ทรัพย์สินซึ่งคำนวณได้เป็นเงิน ประโยชน์ซึ่งคำนวณได้เป็นเงิน เงินค่าภาษีที่มีผู้อื่นออกให้ เครดิตภาษี 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

5 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
แหล่งเงินได้ (ประมวลรัษฎากร มาตรา 41) เกิดจากแหล่งเงินได้ในประเทศ หน้าที่งานในประเทศ กิจการที่ทำ กิจการของนายจ้าง ที่ตั้งทรัพย์สินอยู่ในประเทศ 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

6 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
เกิดจากแหล่งเงินได้นอกประเทศ หน้าที่งานที่ทำ กิจการที่ทำ ที่ตั้งทรัพย์สินอยู่ที่ต่างประเทศ และผู้มีเงินได้ต้องอยู่ในประเทศไทย (มากกว่า วัน) และผู้มีเงินได้นำเงินนั้นเข้ามาในปีนั้น 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

7 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
การยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ให้แก่บุคคล ข้อผูกพันทางเศรษฐกิจกับรัฐบาลต่างประเทศ ข้อตกลงของสหประชาชาติสำหรับคนที่ทำงานในประเทศไทย สถานฑูต กงสุล กงสุลใหญ่ ได้รับยกเว้นภาษีซ้อนเรื่องกฎหมายระหว่างประเทศ ธนาคารพัฒนาเอเซีย (เอดีบี) 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

8 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
เงินที่ได้รับยกเว้นภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ค่าเบี้ยเลี้ยง ค่าพาหนะ ที่จ่ายไปโดยสุจริต และจ่ายไปทั้งหมด เงินปันผลที่ได้รับจากกิจการที่ได้รับการส่งเสริมการลงทุน เงินได้จากการขายอากรแสตมป์ ตราไปรษณียากร เบี้ยประชุม ค่าสอน ค่าสอบ ที่ได้จากราชการ 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

9 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ดอกเบี้ยเงินฝากออมสิน สลากออมสิน ดอกเบี้ยออมทรัพย์สหกรณ์ ดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ธนาคารไม่เกิน 20,000 บาท การขายสังหาริมทรัพย์อันเป็นมรดก มิได้มุ่งหากำไร เงินได้จากการอุปการะตามธรรมจรรยา การให้โดยเสน่หา ตามขนบธรรมเนียม ประเพณี รางวัลสลากกินแบ่ง สลากออมสิน รางวัลการประกวดจากราชการ สินบนนำจับ 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

10 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ค่าสินไหมทดแทนเพื่อละเมิด การประกันภัย ฌาปนกิจสงเคราะห์ เงินได้จากโรงเรียนเอกชน ที่ไม่รวมการขายของ เงินได้จากการจำหน่ายสลากกินแบ่งรัฐบาล ค่าจ้างทำงานปิดเทอมของนักเรียนต่างชาติ ค่ารักษาพยาบาลตน และครอบครัว เงินค่าเช่าบ้าน ค่าการศึกษาบุตร จากราชการ รัฐวิสาหกิจ เงินได้จากการขายอสังหาริมทรัพย์อันเป็นมรดก หรือได้มาโดยเสน่หา ที่ตั้งนอกเขต กทม. เทศบาล สุขาภิบาล พัทยา ส่วนที่ไม่เกิน 200,000 บาท 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

11 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
เงินได้จากการโอนอสังหาริมทรัพย์ ให้แก่บุตรโดยไม่มีค่าตอบแทน (ไม่รวมบุตรบุญธรรม) ไม่เกิน 20 ล้านบาทต่อบุตร 1 คนต่อปี เงินได้จากการขายบุหรี่ ยาเส้น ที่ผลิตจากโรงงานยาสูบ ดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ ธกส. เงินค่าทดแทนการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ เครื่องแบบที่ได้จากนายจ้างไม่เกิน 2 ชุด เสื้อนอกไม่เกิน 1 ชุด เงินได้ที่จ่ายเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (Provident Fund) ไม่เกิน 500,000 บาท 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

12 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
เงินได้ที่ข้าราชการจ่ายเข้ากองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) ไม่เกิน 500,000 บาทต่อปี เงินได้จากการโอนกรรมสิทธิในที่ดินโดยไม่มีค่าตอบแทน ให้แก่วัด โบสถ์ มัสยิด ไม่เกิน 50 ไร่ต่อปี ดอกเบี้ยที่จ่ายให้แก่ธนาคาร สถาบันการเงิน เพื่อเช่าซื้อที่อยู่อาศัยเท่าที่จ่ายจริง แต่ไม่เกิน 100,000 บาท ดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารในราชอาณาจักร ระยะเวลานานกว่า 1 ปี ไม่เกิน 30,000 บาท ผู้ฝากต้องมีอายุมากกว่า 55 ปี ยกเว้นภาษีให้บุคคลธรรมดา ถ้ามีเงินได้สุทธิไม่เกิน 150,000 บาท 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

13 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ประเภทของเงินได้พึงประเมิน และการหักค่าใช้จ่าย อยู่ในประมวลรัษฎากร มาตรา 40 (1) ถึง (8) ผู้มีเงินได้เฉพาะมาตรา 40 (1) ยื่น ภงด. 91 ผู้มีเงินได้มาตรา 40 (2) ถึง (8) อาจมีหรือไม่มี 40 (1) ก็ตาม ยื่น ภงด. 90 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

14 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
มาตรา 40 (1) เงินได้เนื่องจากการจ้างแรงงาน มาตรา 40 (2) เงินได้เนื่องจากหน้าที่หรือตำแหน่งงานที่ทำ หรือจากการรับจ้างทำงานให้ คนโสด ให้นำเงินได้มาตรา 40 (1) และ 40 (2) รวมกันแล้วหักค่าใช้จ่ายได้ 50 % แต่ไม่เกิน 100,000 บาท สามี ภรรยา ต่างฝ่ายต่างหักได้ 50 % แต่ไม่เกิน 100,000 บาท (จึงรวมได้ไม่เกิน 200,000 บาท) 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

15 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
มาตรา 40 (3) รายได้จากกู๊ดวิลล์ ลิขสิทธิ์ เงินได้รายปีจากพินัยกรรม หรือคำสั่งศาล หักค่าใช้จ่ายได้เฉพาะจากกู๊ดวิลล์ ลิขสิทธิ์ สิทธิอย่างอื่น 50 % แต่ไม่เกิน 100,000 บาท เท่านั้น มาตรา 40 (4) ก. เป็นเงินได้จากดอกเบี้ย มาตรา 40 (4) ข. เป็นเงินได้จากเงินปันผล มาตรา 40 (4) ค. เป็นเงินได้โบนัสให้กับหุ้นส่วน มาตรา 40 (4) หักค่าใช่จ่ายไม่ได้ 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

16 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
มาตรา 40 (5) รายได้จาก ก. การให้เช่าทรัพย์สิน บ้าน โรงเรือน แพ หักค่าใช้จ่ายได้ 30 % ที่ดินการเกษตร หักค่าใช้จ่ายได้ 20 % ที่ดินไม่ได้ทำการเกษตร หักค่าใช้จ่ายได้ 15 % ยานพาหนะ หักค่าใช้จ่ายได้ 30 % ทรัพย์สินอย่างอื่น หักค่าใช้จ่ายได้ 10 % ข. ผิดสัญญาเช่าซื้อทรัพย์สิน หักค่าใช้จ่ายได้ 20 % ค. ผิดสัญญาซื้อขายเงินผ่อน หักค่าใช้จ่ายได้ 20 % 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

17 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
มาตรา 40 (6) รายได้จากวิชาชีพอิสระ ได้แก่ ทนายความ ผู้มีใบประกอบโรคศิลป (แพทย์ , ทันตแพทย์) วิศวกร สถาปนิก บัญชี ประณีตศิลปกรรม หักค่าใช้จ่ายได้ 30 % เฉพาะ แพทย์ , ทันตแพทย์ หักค่าใช้จ่ายได้ 60 % 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

18 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
มาตรา 40 (7) รายได้จากการรับเหมา หักค่าใช้จ่ายได้ 60 % มาตรา 40 (8) รายได้จากธุรกิจ พาณิชย์ เกษตร อุตสาหกรรม ขนส่ง การขายอสังหาริมทรัพย์ อื่น ๆ หักค่าใช้จ่ายได้ตามกฎหมายกำหนด (60 % เกือบทั้งหมด) 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

19 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
การหักค่าลดหย่อน ตัวผู้มีเงินได้ หักได้ 60,000 บาท คู่สมรส หักได้ 60,000 บาท บุตร ต้องมีอายุไม่เกิน 25 ปี และเรียนระดับอุดมศึกษา โดยหักได้ คนละ 30,000 บาท บุตรบุญธรรม คนละ 30,000 บาท รวมแล้วไม่เกิน 3 คน 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

20 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
เบี้ยประกันชีวิต เงื่อนไขกรมธรรม์ต้องมีอายุเกิน 10 ปี เป็นบริษัทในราชอาณาจักร หักได้ตามจริงไม่เกิน 100,000 บาท เงินสะสมที่จ่ายเข้ากองทุนสำรองเลี้ยงชีพ หักได้ตามที่จ่ายจริงไม่เกิน 500,000 บาท ดอกเบี้ยกู้ยืมจากธนาคาร หรือสถาบันการเงินเพื่อซื้อบ้าน หักได้ตามที่จ่ายจริงไม่เกิน 100,000 บาท เงินสมทบที่จ่ายเข้ากองทุนประกันสังคม หักได้ตามที่จ่ายจริง 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

21 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ค่าอุปการเลี้ยงดูบิดา มารดา ของผู้มีเงินได้และของคู่สมรส หักลดหย่อยได้คนละ 30,000 บาท เงื่อนไขคือต้องมีอายุเกิน 60 ปี และแต่ละคนมีรายได้ไม่เกิน 30,000 บาท ค่าอุปการเลี้ยงดูบิดา มารดา สามี ภรรยา บุตร บุตรบุญธรรมของผู้มีเงินได้และของคู่สมรส หรือบุคคลอื่นที่พิการตามกฎหมาย หักลดหย่อยได้คนละ 60,000 บาท เมื่อหักลดหย่อนต่าง ๆ หมดแล้ว ให้หักลดหย่อนได้อีกสำหรับเงินบริจาคได้ไม่เกิน 10 % หลังจากที่ได้หักทุกอย่างข้างต้นมาแล้ว 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

22 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
อัตราภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา 0 – 150, ยกเว้น 150,001 – 300, เสีย 5 % เท่ากับ 7, บาท สะสม 7,500 บาท 300,000 – 500, เสีย 10 % เท่ากับ 20,000 บาท สะสม 27,500 บาท 500,000 – 750, เสีย 15 % เท่ากับ 37,500 บาท สะสม 65,000 บาท 750,000 – 1,000, เสีย 20 % เท่ากับ 50,000 บาท สะสม 115,000 บาท 1,000,000 – 2,000, เสีย 25 % เท่ากับ 250,000 บาท สะสม 365,500 บาท 2,000,001 – 5,000, เสีย 30 % เท่ากับ 900,000 บาท สะสม 1,265,000 บาท มากกว่า 5,000,00 บาท เสีย 35 % 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

23 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
การคำนวณขั้นที่ 2 พิจารณาว่า บุคคลธรรมดามีรายได้ตาม ม. 40 (20) ถึง (8) มากกว่า 120,000 บาท หรือไม่ ถ้ามี ให้นำรายได้ตาม ม. 40 (2) ถึง (8) ทั้งหมด โดยไม่ต้องหักค่าใช้จ่ายใด ๆ เลย คูณด้วย 5 หารด้วย 1,000 ผลลัพธ์ที่ได้ให้เปรียบเทียบกับการคำนวณในขั้นที่ 1 ตัวเลขที่มากกว่าระหว่างการคำนวณขั้นที่ 1 กับขั้นที่ 2 คือจำนวนภาษีที่ต้องจ่าย 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

24 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
การเสียภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาครึ่งปี (มาตรา 56 ทวิ) จะเสียเฉพาะผู้มีเงินได้ในมาตรา 40 (5) ถึง 40 (8) เท่านั้น โดยอัตราการหักค่าใช้จ่าย ใช้อัตราเดียวกับการเสียทั้งปี แต่อัตราการหักลดหย่อน ใช้ครึ่งหนึ่งของอัตราทั้งปี 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

25 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภงด. 90 สำหรับผู้มีเงินได้ทุกประเภท ทั้งปี ยื่น มกราคม – มีนาคม ปีถัดไป ภงด. 91 สำหรับผู้มีเงินได้เฉพาะมาตรา 40 (1) ทั้งปี ยื่น มกราคม – มีนาคม ปีถัดไป ภงด. 94 สำหรับผู้มีเงินได้มาตรา 40 (5) ถึง 40 (8) ครึ่งปี ยื่น กันยายนปีนั้น 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

26 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
สถานที่ยื่นแบบ กทม. ยื่นที่สรรพากรพื้นที่สาขา / ทางไปรษณีย์ / ธนาคารพาณิชย์ไทย / เวบไซต์ ต่างจังหวัด ยื่นที่สรรพากรพื้นที่สาขา 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

27 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
การชำระภาษี เงินสด ธนาณัติ เช็คธปท. , เช็คที่มีธนาคารค้ำประกัน ,เช็คธนาคาร , เช็คบุคคลธรรมดาในเขตเคลียริ่ง 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

28 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาหัก ณ ที่จ่าย กรณีจ่ายเป็นรายเดือน ให้คูณด้วย 12 กรณีจ่ายเป็นรายครึ่งเดือน ให้คูณด้วย 24 กรณีจ่ายเป็นรายสัปดาห์ ให้คูณด้วย 52 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

29 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
สำหรับ เงินได้พึงประเมินมาตรา 40 (1) และ 40 (2) ที่ได้รับครั้งเดียวเพราะเหตุออกจากงาน การหักค่าใช้จ่ายให้ทำดังนี้ หักขั้นที่ 1 นำ 7,000 คูณจำนวนปีที่ทำงานมา หักขั้นที่ 2 (นำเงินที่ได้รับจริง ลบขั้นที่ 1) x 50 % ค่าใช้จ่ายรวมที่หักได้ = ยอดรวมของทั้ง 2 ขั้น 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

30 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
รายได้ตาม ม. 40 (3) และ ม. 40 (4) เฉพาะดอกเบี้ย เสียภาษี ณ ที่จ่าย 15 % รายได้ตาม ม. 40 (4) เฉพาะเงินปันผล เสียภาษี ณ ที่จ่าย 10 % รายได้ตาม ม. 40 (5) และ 40 (6) เสียภาษี ณ ที่จ่าย 15 % รายได้ตาม ม. 40 (5) , (6) , (7) , (8) ที่ผู้จ่ายเงินเป็นหน่วยงานของรัฐ ที่การจ่ายแต่ละครั้งเกิน 10,000 บาท เสียภาษี ณ ที่จ่าย 1 % 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

31 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
รายได้ ม. 40 (8) เรื่องการขายอสังหาริมทรัพย์ วิธีการคำนวณ เงินได้พึงประเมิน หักค่าใช้จ่าย 50 % เหลือ 50 % หารด้วยจำนวนปีที่ถือครอง คิดภาษีตามอัตรา โดยไม่มีการยกเว้น 150,000 บาท ได้เท่าใดให้คูณด้วยจำนวนปีที่ถือครอง 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

32 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
การขายสินค้าทางการเกษตรกรรม ให้หักภาษี ณ ที่จ่าย 0.75 % รายได้จากวิชาชีพอิสระ ให้หักภาษี ณ ที่จ่าย 3 % แต่ถ้าได้รายได้วิชาชีพอิสระจากองค์กรสาธารณกุศล ให้หักภาษี ณ ที่จ่าย 10 % รายได้จากการรับจ้างทำของ ให้หักภาษี ณ ที่จ่าย 3 % รายได้จากการประกวด แข่งขัน ชิงโชค ให้หักภาษี ณ ที่จ่าย 5 % รายได้ของนักแสดงสาธารณะที่มีภูมิลำเนาในต่างประเทศ ให้หักภาษี ณ ที่จ่าย 10 % รายได้ของนักแสดงสาธารณะที่มีภูมิลำเนาในประเทศ ให้หักภาษี ณ ที่จ่าย 5 % รายได้จากค่าโฆษณา ให้หักภาษี ณ ที่จ่าย 2 % 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

33 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
หน้าที่ของผู้หักภาษีเงินได้ ณ ที่จ่าย คำนวณเงินภาษี นำส่งสรรพากรอำเภอ ภายใน 7 วัน ยื่นแบบเป็นรายตัวผู้เสียภาษีอากร ออกหนังสือรับรองการหักภาษี ณ ที่จ่ายให้แก่ผู้เสียภาษีเพื่อเก็บไว้เป็นหลักฐาน 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

34 ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
การขอคืนเงินภาษี ใช้แบบ ค. 10 ขอคืนในแบบ ภงด. 90 หรือ แบบ ภงด. 91 ต้องขอคืนภายใน 3 ปี แนบหลักฐานที่เกี่ยวข้อง เบี้ยปรับ เงินเพิ่ม 1.5 % ต่อเดือน โทษทางอาญา แล้วแต่กรณี ร้ายแรงที่สุดจำคุก 3 เดือน ถึง 7 ปี ปรับ 2,000 – 200,000 บาท 25 กุมภาพันธ์ 2562 รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

35 Thank You ! www.themegallery.com 25 กุมภาพันธ์ 2562
รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี


ดาวน์โหลด ppt BUSINESS TAXATION รศ.ดร.กฤษฎา สังขมณี

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google