งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ฝ่ายรับรองมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ฝ่ายรับรองมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ฝ่ายรับรองมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์
การตรวจประเมินปศุสัตว์อินทรีย์  ตรารับรองเกษตรอินทรีย์ระบบต่าง ๆ ฝ่ายรับรองมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์ สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์

2 หลักการของปศุสัตว์อินทรีย์
การผลิตใช้แนวทางเกษตรผสมผสาน รักษาความหลากหลาย รักษาความสมดุลของระบบนิเวศในฟาร์ม และความยั่งยืนของระบบนิเวศโดยรวม รักษาความอุดมสมบูรณ์ของดินและคุณภาพน้ำ ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม รักษาความเป็นอินทรีย์ตลอดห่วงโซ่การผลิต แปรรูป เก็บรักษา และจำหน่าย หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีสังเคราะห์ตลอดกระบวนการผลิต แปรรูปและเก็บรักษา ผลิตผล ผลิตภัณฑ์ หรือส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ต้องไม่ผ่านการดัดแปรพันธุกรรม และไม่ผ่านการฉายรังสี สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์

3 หลักการของปศุสัตว์อินทรีย์ (ต่อ)
ต้องอยู่บนพื้นฐานการจัดการให้มีความสัมพันธ์ที่ดีเกื้อกูลกันระหว่างผืนดิน พืช สัตว์ และให้ความสำคัญกับความต้องการทางสรีระของร่างกาย คำนึงถึง สวัสดิภาพของปศุสัตว์ รักษาระบบนิเวศท้องถิ่นและความหลากหลายทางชีวภาพของพื้นที่การผลิต สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์

4 หลักการของปศุสัตว์อินทรีย์ (ต่อ)
จำนวนปศุสัตว์ต้องพอเหมาะกับพื้นที่ การจัดการกับปศุสัตว์ มุ่งเน้นขยายพันธุ์ตามธรรมชาติ รักษาสุขภาพสัตว์ ป้องกันโรค หลีกเลี่ยงการใช้ยาเคมี ดูแลสวัสดิภาพของสัตว์ และการ ลดความเครียด หลีกเลี่ยงการใช้ผลพลอยได้จากสัตว์เป็นอาหารสัตว์ การเลี้ยงแบบคู่ขนาน ผู้ผลิตต้องแยกระบบอย่างชัดเจน การจัดการผลิตสัตว์และผลิตภัณฑ์จากสัตว์ ต้องคำนึงถึงความปลอดภัย ของผู้ผลิตและผู้บริโภค

5 มาตรฐานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ที่ใช้รับรอง
มาตรฐานสินค้าเกษตร ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง กำหนดมาตรฐานสินค้าเกษตร : เกษตรอินทรีย์ (มกษ. 9000) เล่ม 1 : การผลิต แปรรูป แสดงฉลาก และจำหน่ายผลิตผลและผลิตภัณฑ์เกษตรอินทรีย์ พ.ศ.2552 เล่ม 2 : ปศุสัตว์อินทรีย์ พ.ศ.2554 เล่ม 6 : ผึ้งอินทรีย์ พ.ศ.2556 อ้างอิงตาม สมาพันธ์เกษตรอินทรีย์นานาชาติ (International Federation of Organic Agriculture Movement - IFOAM)

6 กระบวนการตรวจประเมินปศุสัตว์อินทรีย์
ยื่นแบบคำร้องขอรับรองปศุสัตว์อินทรีย์ (ปศอ.1) ผู้ประกอบการ สำนักงานปศุสัตว์อำเภอ เสนอปศุสัตว์จังหวัด ตรวจแบบ ปศอ.1 พร้อมหลักฐาน ไม่ผ่าน แจ้งเมื่อแก้ไขแล้วเสร็จ ผ่าน สำนักงานปศุสัตว์เขต (คณะผู้ตรวจประเมิน) 90 วัน นัดหมายวันตรวจประเมิน ไม่ผ่าน แจ้งแก้ไขข้อบกพร่อง แก่ผู้ประกอบการ Minor Major ผ่าน กรมปศุสัตว์ คณะกรรมการรับรองปศุสัตว์อินทรีย์ สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์

7 กระบวนการตรวจประเมินปศุสัตว์อินทรีย์ (ต่อ)
กรมปศุสัตว์ คณะกรรมการรับรองปศุสัตว์อินทรีย์ พิจารณาผลการรับรอง สำนักงานปศุสัตว์เขต แจ้งแก้ไขข้อบกพร่อง ผู้ประกอบการ ไม่ผ่าน แจ้งผล ผ่าน กรมปศุสัตว์ สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ ออกใบรับรองปศุสัตว์อินทรีย์ ผู้ประกอบการ สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์

8 สรุปผลการดำเนินงานปศุสัตว์อินทรีย์
คำสั่งและประกาศเสนออธิบดีเพื่อลงนามวันที่ 2 มิถุนายน 2558 คำสั่งกรมปศุสัตว์ ที่ 393/2558 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการนโยบายปศุสัตว์อินทรีย์ คำสั่งกรมปศุสัตว์ ที่ 394/2558 เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการรับรองปศุสัตว์อินทรีย์ คำสั่งกรมปศุสัตว์ ที่ 395/2558 เรื่อง แต่งตั้งคณะผู้ตรวจประเมินปศุสัตว์อินทรีย์ ประกาศกรมปศุสัตว์ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการวิชาการด้านปศุสัตว์อินทรีย์ สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์

9 สรุปผลการดำเนินงานปศุสัตว์อินทรีย์ (ต่อ)
สรุปผลการดำเนินงานปศุสัตว์อินทรีย์ (ต่อ) การฝึกอบรมเจ้าหน้าที่กรมปศุสัตว์ หลักสูตร “ผู้ตรวจประเมิน ตามมาตรฐานสินค้าเกษตร (ปศุสัตว์อินทรีย์)” โดยจัดอบรมระหว่าง วันที่ มิถุนายน 2558 ณ โรงแรมมวกเหล็กพาราไดส์รีสอร์ท อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี มีผู้ผ่านการฝึกอบรมจำนวน 61 ราย จัดทำระเบียบกรมปศุสัตว์ว่าด้วยการขอรับและออกใบรับรอง ปศุสัตว์อินทรีย์ พ.ศ. ๒๕๕๘ ซึ่งอยู่ในระหว่างการพิจารณาตรวจ แก้ไขจากสำนักกฎหมาย สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์

10 สรุปผลการดำเนินงานปศุสัตว์อินทรีย์ (ต่อ)
สรุปผลการดำเนินงานปศุสัตว์อินทรีย์ (ต่อ) จัดสรรงบประมาณการดำเนินการตรวจประเมินฟาร์มปศุสัตว์ อินทรีย์ สำหรับเป็นงบดำเนินงานให้สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้า ปศุสัตว์ สำนักงานปศุสัตว์เขต และสำนักงานปศุสัตว์จังหวัด ดำเนินงานตามโครงการปศุสัตว์อินทรีย์ ดำเนินการตรวจประเมินฟาร์มตามเป้าหมายโครงการปศุสัตว์ อินทรีย์ จำนวน 50 ฟาร์ม ตามแบบฟอร์มและเอกสารประกอบการ ปฏิบัติงาน ที่สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์กำหนด รวบรวมปัญหาและอุปสรรคในการตรวจประเมินฟาร์มปศุสัตว์อินทรีย์ เสนอกรมภายในเดือนตุลาคม 2558 สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์

11 เป้าหมายดำเนินการ (ฟาร์ม) ฟาร์มที่ตรวจแล้ว (ฟาร์ม)
สรุปผลการตรวจรับรองฟาร์มปศุสัตว์อินทรีย์ ปีงบประมาณ 2558กิจกรรมตรวจรับรองฟาร์มปศุสัตว์อินทรีย์ พื้นที่ดำเนินการ เป้าหมายดำเนินการ (ฟาร์ม) ฟาร์มที่ตรวจแล้ว (ฟาร์ม) ปศุสัตว์เขต 1 5 ปศุสัตว์เขต 2 6 ปศุสัตว์เขต 3 10 ปศุสัตว์เขต 4 12 ปศุสัตว์เขต 5 8 ปศุสัตว์เขต 6 1 ปศุสัตว์เขต 7 ปศุสัตว์เขต 8 ปศุสัตว์เขต 9 2 4 รวม 50 42 หมายเหตุ ข้อมูล ณ วันที่ 7 กันยายน 2558 สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์

12 ปัญหาและอุปสรรคในการรับรองปศุสัตว์อินทรีย์
1. เกษตรกรขาดแคลนแหล่งอาหารสัตว์และพืชอาหารสัตว์อินทรีย์ ไม่มีการรับรองอาหารสัตว์สำเร็จรูปอินทรีย์ (อาหารข้น อาหารไก่ไข่ การรับรองแปลงหญ้าหรือแปลงพืชอาหารสัตว์อินทรีย์ยังมีความไม่ชัดเจนของหน่วยงานรับรอง (กรมวิชาการเกษตร - กรมปศุสัตว์) วัตถุดิบที่เป็นอินทรีย์มีราคาสูงกว่าวัตถุดิบที่ไม่เป็นอินทรีย์ แนวทางการแก้ไข ผลักดัน มกอช. ในการกำหนดมาตรฐานอาหารสำเร็จรูปอินทรีย์ ส่งเสริมให้สำนักพัฒนาอาหารสัตว์จัดทำแปลงพืชอาหารสัตว์อินทรีย์ - หาแหล่งวัตถุดิบที่เป็นอินทรีย์ราคาถูกให้แก่เกษตรกร

13 ปัญหาและอุปสรรคในการรับรองปศุสัตว์อินทรีย์
2. ผู้ตรวจประเมินขาดความรู้และประสบการณ์ ในการตรวจประเมินปศุสัตว์อินทรีย์ เป็นขอบข่ายใหม่ที่มีการรับรอง มีหลักการแตกต่างจาก GAP ที่เคยรับรอง แนวทางการแก้ไข อบรมเพื่อสร้างความรู้และประสบการณ์แก่ผู้ตรวจประเมิน เชิญผู้เชี่ยวชาญร่วมตรวจประเมินด้วย หรือ ปรึกษาคณะกรรมการวิชาการด้านปศุสัตว์อินทรีย์ในกรณีที่สงสัย

14 ปัญหาและอุปสรรคในการรับรองปศุสัตว์อินทรีย์
3. เกษตรกรที่ขอการรับรองระบบการผลิตปศุสัตว์อินทรีย์ไม่มีความรู้เรื่องปศุสัตว์อินทรีย์ แนวทางการแก้ไข จัดการฝึกอบรม ให้ความรู้แก่เกษตรกร พร้อมทั้งช่วยเหลือในเรื่องการจัดทำเอกสาร และบันทึกข้อมูลการผลิตปศุสัตว์อินทรีย์

15 ปัญหาและอุปสรรคในการรับรองปศุสัตว์อินทรีย์
4. ตลาดสินค้าปศุสัตว์อินทรีย์ยังมีจำกัด ผู้บริโภคยังรู้จักสินค้าปศุสัตว์อินทรีย์น้อย ผลผลิตที่ได้จากระบบปศุสัตว์อินทรีย์จะมีปริมาณน้อยกว่าฟาร์มอื่นๆ ราคาผลิตผลหรือผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์อินทรีย์ไม่มีความแตกต่างจากราคาสินค้าปศุสัตว์อื่น แนวทางการแก้ไข ประชาสัมพันธ์เพื่อเน้นตลาดของปศุสัตว์อินทรีย์ สร้างมูลค้าเพิ่มของสินค้าปศุสัตว์อินทรีย์ทดแทนปริมาณการผลิตที่มี ต่ำกว่าสินค้าปศุสัตว์อื่น ควรมีการประกันผลตอบแทนผลิตผลและผลิตภัณฑ์ปศุสัตว์อินทรีย์

16 ปัญหาและอุปสรรคในการรับรองปศุสัตว์อินทรีย์
5. การกล่าวอ้างสินค้าปศุสัตว์อินทรีย์โดยที่ไม่ได้รับการรับรอง แย่งส่วนแบ่งตลาดของสินค้าปศุสัตว์อินทรีย์ที่ได้รับรองตาม มกษ. มีการรับรองจากหลาย CB เช่น สำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (มกท.) ผู้บริโภคขาดความเชื่อมั่นในระบบการรับรองปศุสัตว์อินทรีย์ แนวทางการแก้ไข ประชาสัมพันธ์เครื่องหมายรับรองอินทรีย์ที่ถูกต้องและรายชื่อของผู้ที่ได้รับการรับรอง ตรวจสอบการกล่าวอ้างอินทรีย์ของสินค้าปศุสัตว์ในท้องตลาดเพื่อ แจ้งแก่ มกอช. ในการควบคุมการแสดงฉลากอินทรีย์ตาม มกษ

17 ปัญหาและอุปสรรคในการรับรองปศุสัตว์อินทรีย์
6. การใช้ยาปฏิชีวนะในฟาร์มปศุสัตว์อินทรีย์ การตกค้างของยาปฏิชีวนะในพืชอาหารสัตว์อินทรีย์ แนวทางการแก้ไข ควรมีการสุ่มตรวจผลผลิตที่มาจากผลิตผลและผลิตภัณฑ์จากระบบ ปศุสัตว์อินทรีย์ ควรมีการสุ่มตรวจสารเคมีตกค้าง ยาฆ่าแมลงในพืชอาหารสัตว์ที่จะ นำมาทำเป็นพืชอาหารสัตว์อินทรีย์

18 แนวทางผลักดันปศุสัตว์อินทรีย์
สร้างบทบาทของหน่วยส่งเสริมและหน่วยรับรองด้านปศุสัตว์อินทรีย์ หน่วยส่งเสริมฯ เน้นการสร้างเกษตรกรปศุสัตว์อินทรีย์ ถ่ายทอดความรู้ เช่น การอบรม ปราชญ์ชาวบ้าน ศูนย์เรียนรู้ปศุสัตว์อินทรีย์ สร้างความเข้มแข็งให้กลุ่มเกษตรกร เช่น กลุ่มเกษตรกร สหกรณ์ จัดหาแหล่งปัจจัยการผลิตเพื่อระบบปศุสัตว์อินทรีย์ เช่น พืชอาหารสัตว์อินทรีย์ ลดต้นทุนการผลิตให้แก่ปศุสัตว์อินทรีย์ หน่วยรับรองฯ เน้นการรับรองมาตรฐานและตรวจสอบสินค้า สร้างความรู้และประสบการณ์แก่ผู้ตรวจฯ การรับรองอาหารสัตว์อินทรีย์ ตรวจสอบการกล่าวอ้างสินค้าปศุสัตว์อินทรีย์ที่ไม่ได้รับรอง ประชาสัมพันธ์สินค้าที่มาจากการรับรองปศุสัตว์อินทรีย์

19 แนวทางผลักดันปศุสัตว์อินทรีย์
การส่งเสริมตลาดปศุสัตว์อินทรีย์ ประชาสัมพันธ์สินค้าที่มาจากการรับรองปศุสัตว์อินทรีย์ให้แพร่หลาย การสร้างตลาดจำเพาะของสินค้าปศุสัตว์อินทรีย์ เช่น Green market ตามโรงพยาบาล หรือตลาดเกษตรกร ตลาดในกลุ่ม Modern trade หรือ Lemon farms สร้างความเข้าใจให้แก่ผู้บริโภคเรื่องสินค้าปศุสัตว์อินทรีย์ เนื่องจากเป็นสินค้าที่ไม่สามารถแข่งขันด้านราคากับสินค้าทั่วไปได้ จึงต้องเน้นการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้ากลุ่มนี้โดยเฉพาะ ให้เป็นทางเลือกแก่ผู้บริโภค

20 แผนดำเนินงานปศุสัตว์อินทรีย์ ปีงบประมาณ 2559
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ จัดอบรมผู้ตรวจประเมินปศุสัตว์อินทรีย์ จำนวน 2 รุ่น รุ่นละ 30 คน รุ่นที่ 1 สำหรับผู้ที่เคยผ่านการฝึกอบรมปศุสัตว์อินทรีย์ เพื่อทบทวนความรู้ทางด้านตรวจประเมินปศุสัตว์อินทรีย์ รุ่นที่ 2 สำหรับผู้ที่ยังไม่เคยผ่านการฝึกอบรมปศุสัตว์อินทรีย์ สำนักงานปศุสัตว์เขต และสำนักงานปศุสัตว์จังหวัด ตรวจประเมินฟาร์มปศุสัตว์อินทรีย์เป้าหมาย 50 ฟาร์ม (กสส. กำหนดเป้าหมาย) สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์

21 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ผู้ตรวจประเมินปศุสัตว์อินทรีย์สามารถให้การตรวจประเมินด้านปศุสัตว์อินทรีย์อย่างมีมาตรฐานสากล สามารถเพิ่มประสิทธิภาพของผู้ตรวจประเมิน เพื่อได้รับการยอมรับจากผู้ใช้บริการ/ผู้บริโภค ผู้ตรวจประเมินได้รับการพัฒนาความรู้และทักษะการตรวจประเมินอย่างต่อเนื่อง ทำให้เกิดความมั่นใจในการปฏิบัติงาน

22 เป้าหมายและแผนการดำเนินการ ปี 2559
พื้นที่ดำเนินการ ตรวจรับรองฟาร์ม อบรมเกษตรกร รายชนิดสัตว์ เป้าหมาย(ฟาร์ม) เป้าหมาย(ราย) สระบุรี 5 30 โคนม สระแก้ว 10 ไก่ไข่ จันทบุรี 5/4 10/10 ไก่ไข่/โคนม นครราชสีมา 15 สุรินทร์ 8 อำนาจเจริญ เชียงใหม่ 6 30/10 เป็ดไข่/ไก่ดำ เพชรบุรี 2 แพะนม สุราษฏร์ธานี 5/2 20/20 ไก่เป็ด/แพะนม ภูเก็ต รวม 67 225

23 ขอบคุณ

24 แผนการดำเนินงานปศุสัตว์อินทรีย์ประจำปีงบประมาณ 2559

25 เอกสารรูปเล่ม เสนอกรมปศุสัตว์เพื่อให้คณะกรรมการรับรองพิจารณา
แบบฟอร์มสำหรับใช้ในตรวจประเมิน แบบยื่นคำขอฯ ของผู้ประกอบการ พร้อมหลักฐาน บันทึกหลักฐานการปฏิบัติงาน

26 สำนักงานปศุสัตว์อำเภอ จังหวัด
ยื่นที่ สำนักงานปศุสัตว์อำเภอ จังหวัด

27 กำหนดทีมตรวจประเมินตามคำสั่งกรมปศุสัตว์ ที่ ๓๙๕/๒๕๕๘

28 กำหนดวันที่ เวลาตรวจ

29 พิจารณา Checklist

30 พิจารณา Checklist

31 พิจารณา Checklist

32 แบบฟอร์มบันทึกข้อบกพร่อง ( CAR ) รหัส FM-OR-AUD-03
ข้อบกพร่องที่ตรวจพบไม่สอดคล้อง ตามข้อกำหนดใดบ้าง

33 ระยะเวลาแก้ไข 2 ครั้ง ภายใน 3 เดือน

34 แบบฟอร์มรายงานผล( Audit Report )รหัส FM-OR-AUD-02

35 มีการปฏิบัติสอดคล้องตามข้อกำหนด
สรุปรายงานผลการตรวจประเมิน เมื่อแก้ไขข้อบกพร่องแล้วเสร็จ เสนอกรมปศุสัตว์เพื่อให้คณะกรรมการรับรองพิจารณา

36 แบบฟอร์มการขอยกเลิกการรับรองปศุสัตว์อินทรีย์ รหัส FM-OR-FAM-00

37 ประกาศกรมปศุสัตว์ เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการวิชาการด้านปศุสัตว์อินทรีย์

38 คำสั่งกรมปศุสัตว์ เรื่องแต่งตั้งคณะผู้ตรวจประเมินปศุสัตว์อินทรีย์

39 ประกาศกรมปศุสัตว์ เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการรับรองปศุสัตว์อินทรีย์

40 ประกาศกรมปศุสัตว์ เรื่องแต่งตั้งคณะกรรมการนโยบายปศุสัตว์อินทรีย์

41 จากการสำรวจสินค้าการเกษตรในตลาดในประเทศไทยโดยกรีนเนท ในช่วงกลางปี 2554 พบว่ามีการใช้ตรารับรองผลผลิตเกษตร ดังนี้

42


ดาวน์โหลด ppt ฝ่ายรับรองมาตรฐานฟาร์มเลี้ยงสัตว์ ส่วนรับรองด้านการปศุสัตว์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google