สรุปผลการดำเนินงาน คณะที่ 2 Service Plan รอบ 2 / 2559

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
แผนพัฒนาระบบบริการ Service Plan.
Advertisements

ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
สภาพปัญหา / สาเหตุของปัญหา กระบวนการวางแผน/แนวทางการพัฒนา
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ผลการดำเนินงานต่อเนื่องของ service plan
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนนทบุรี
การประชุมหารือกรอบการ พัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) กรมการ แพทย์ นายแพทย์ณรงค์ อภิกุลวณิช รองอธิบดีกรมการแพทย์ วันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2558.
อำเภอควบคุมยาสูบและเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์เข้มแข็ง ปี 2556
วันที่ 25 มกราคม 2559 เวลา – น. ณ โรงแรมพลูแมน ขอนแก่น นายแพทย์อัษฎางค์ รวยอาจิณ รองอธิบดี กรมควบคุมโรค.
Goal: people are healthy & safety from Tuberculosis In Chiang Mai.
Performance Agreement พญ.ประนอม คำเที่ยง รองปลัดกระทรวงสาธารณสุขภารกิจด้านการแพทย์ 27 พฤศจิกายน 2558.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
เป้าหมายงานวัณโรค ปี 2559 ระดับความสำเร็จของการควบคุมวัณโรค 1. การค้นหาและรายงานผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ เพิ่มขึ้น 10% ( ของปี 56) 2. รพ. ผ่านมาตรฐานรพ. คุณภาพการดูแลรักษาวัณ.
โครงการ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ “ ส่งเสริมพัฒนาการเด็กเฉลิม พระเกียรติ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี เนื่องในโอกาสฉลองพระชนมายุ
Service Plan 5 สาขาหลัก.
แนวทางการตรวจราชการคุณภาพ เขตสุขภาพที่1
คณะตรวจราชการและนิเทศงาน
ผลการดำเนินงาน ประจำปี 2558 ตุลาคม 2557 – กันยายน 2558
SP สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน
ร้อยละของผู้ป่วย DM, HT ที่ได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง เขตสุขภาพที่ 3 ปี 2557 – 2560(Q2)
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
พญ.จุรีพร คงประเสริฐ รองผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค
กำหนดการ Work shop การประเมินตนเอง
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
งาน Palliative care.
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โครงการกองทุนหลักประกันสุขภาพ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าดินแดง
LTC + RTI + SP NCD + Mgt.(3) + คบ.
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
การตรวจราชการ ประจำปี 2560
การติดตามผลงาน OKRs ปีงบประมาณ 2562 (ไตรมาส 1)
การพัฒนาคุณภาพบริการและเครือข่ายสุขภาพ
ประเด็น PA แผนงาน พัฒนาคุณภาพชีวิตแม่และเด็ก (Maternal & Child ) ลดมารดาตาย และเด็กต่ำกว่า 1 ปี ได้รับวัคซีนตามเกณฑ์ Target / KPI No : แม่ไม่เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์และการคลอด.
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
การส่งรายงาน งานมะเร็ง ปี ๒๕๖๐
รายงานความก้าวหน้าการดำเนินงาน แพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
สรุปแนวทางการดำเนินงานวัณโรค ปี ๒๕๖๑
ชาลิณี ปิยะประสิทธิ์ สปสช.เขต 10 อุบลราชธานี 21 กันยายน 2560
งานผู้สูงอายุ ปี 2560 ตัวชี้วัด (Long Term Care)ในชุมชนผ่านเกณฑ์
ยินดีต้อนรับ คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับงานสาธารณสุข โซน3 จังหวัดเชียงใหม่ ครั้งที่ 1 ประจำปี 2561 ด้วยความยินดียิ่ง.
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
ประชุม คปสจ.ประจำเดือนมิถุนายน ๒๕๕๙ MOTTO – กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
พื้นที่ทำร้ายตัวเองใหม่(√) ปี๒๕๖๐ ทั้งสำเร็จ-ไม่สำเร็จ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
สถานการณ์โรค ประจำเดือน โรคไข้เลือดออก สถานการณ์โรคที่สำคัญ
สถานการณ์และการดำเนินงานวัณโรค จังหวัดเชียงใหม่
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข โรงแรมเดอะรอยัลเจมส์ กอล์ฟ รีสอร์ท
ทิศทางการดำเนินงานลดโรคหัวใจและหลอดเลือด (CVD)
กรอบติดตาม ประเมินผล/นิเทศ “RB 2 วัยเรียน”
การป้องกันควบคุมโรค NCDs
โครงการพัฒนารูปแบบการดำเนินงานป้องกันควบคุม โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน : ชุมชนลดเสี่ยง ลดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง.
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
การพัฒนาระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศด้านสุขภาพ
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
ใบสำเนางานนำเสนอ:

สรุปผลการดำเนินงาน คณะที่ 2 Service Plan รอบ 2 / 2559

คณะที่ 2: การพัฒนาระบบบริการ Service plan 12 สาขา : สาขาหัวใจ สาขาอุบัติเหตุและฉุกเฉิน สาขามะเร็ง ทารกแรกเกิด สาขาไต สาขาตา สาขาสุขภาพช่องปาก สาขาสุขภาพจิต จิตเวช และยาเสพติด 5 สาขาหลัก สาขาโรคไม่ติดต่อ (NCD) สาขาปฐมภูมิและสุขภาพองค์รวม สาขาแพทย์แผนไทย และการแพทย์ผสมผสาน ประเด็นการตรวจราชการที่มุ่งเน้น 1. เขตสุขภาพ ต้องกำหนดความต้องการด้านสุขภาพ โดยพิจารณา ลด morbidity, mortality Access to Care Equity Quality Efficiency (EQE) 2. การจัดบริการสุขภาพ โดย Designed services จากการ Analysis gap ของ Health Needs เพื่อหาส่วนขาด และจัดทำแผนรองรับ service plan ของเขตสุขภาพ ในรูปแบบ One Hospital, One Region 3. ระบบสนับสนุนการพัฒนาระบบบริการในด้านต่างๆ ดังต่อไปนี้ กำลังคนด้านสุขภาพ ระบบข้อมูลสารสนเทศ ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ วัคซีน เทคโนโลยี ระบบการเงินการคลังสาธารณสุข การอภิบาลระบบสุขภาพ 4. การถอดเป็น service plan ระดับกระทรวง เพื่อได้ investment plan

การจัดระดับหน่วยบริการสุขภาพ เชียงใหม่ รพ.ไชยปราการ รพ.ดอยเต่า รพ.ดอยสะเก็ด รพ.ดอยหล่อ รพ.พร้าว รพ.แม่ออน รพ.แม่แจ่ม รพ.แม่แตง รพ.แม่วาง รพ.แม่อาย รพ.เวียงแหง รพ.สะเมิง รพ.สันกำแพง รพ.สารภี รพ.ฮอด รพ.อมก๋อย การจัดระดับหน่วยบริการสุขภาพ A (1) รพ.สันป่าตอง รพ.สันทราย รพ.นครพิงค์ รพ.ฝาง รพ.จอมทอง S รพ.หางดง รพ.เชียงดาว M1 (2) M2 (2) F1 (2) F2 (17) F3 P1 P2 P3 รพ.วัดจันทร์

M1ฝาง Aนครพิงค์ F1หางดง M2สันทราย ๑๕๐ กม M2สันป่าตอง ๑๗๖ กม M1จอมทอง

การขับเคลื่อน service plan จ.เชียงใหม่

กระบวนการบริหารจัดการและขับเคลื่อนงาน Service plan 1.ด้านการจัดองค์กร Service Provider Board  ระดับจังหวัด คณะกรรมการอำนวยการ คณะทำงานพัฒนาระบบบริการ คณะกรรมการ รายสาขา 17 สาขา 2. ด้านการจัดทำแผน Service Plan มีการจัดทำแผนพัฒนาระบบบริการ โดยคณะกรรมการรายสาขา 17 สาขา  อนุมัติจัดทำแผนประจำปี แผนพัฒนาระบบบริการ ในภาพรวมจังหวัด จำนวน 401,000 บาท แผนพัฒนาระบบบริการ 17 สาขา จำนวน 340,000 บาท มีการประชุม ติดตาม อย่างต่อเนื่อง การประชุมคณะคณะกรรมการอำนวยการ 2 ครั้งต่อปี การประชุมคณะทำงาน 4 ครั้งต่อปี 3.การขับเคลื่อนงาน สาขา  คณะกรรมการวางแผนประเมินผล 4.การติดตามประเมินผล ติดตามจากระบบรายงาน ตาม PA ทุก 3 เดือน

สาขาหัวใจ ตัวชี้วัด เป้าหมาย % ผลการดำเนินงาน ปี 2559 ผลงาน รอบ 1 รอบ 2 ระดับเขต 1 6 M ระดับประเทศ 1. อัตราตายSTEMI < 10 4.07 5.56 (9/151) 10.88 - 2. ผู้ป่วย STEMI ที่ได้รับยาละลายลิ่มเลือดและหรือ PPCI > 75 82 (81250) 82.11% (124/151) 88.45 85.33 3. รพ.ระดับ F2-A สามารถให้ยา Thrombolytic agent ได้ 100 95.65 (22/23) รพ.สะเมิง (23/23) 4. รพ.ระดับ F2 ขึ้นไปที่มี Warfarin clinic 82.61 (19/23) 69.41 76.97 5. รพ.ระดับ A-M2 ที่มี HF clinic 10(5/5) 75.0 59.42

ร้อยละของผู้ป่วย STEMI ได้รับยาละลายลิ่มเลือด และ/หรือ การขยายหลอดเลือดหัวใจ (PPCI-Primary Percutaneous Cardiac Intervention) (เป้าหมายร้อยละ 75) Q2/59

สาขาอุบัติเหตุ ผลการดำเนินงาน ปี 2559 ตัวชี้วัด เป้า หมาย % ผลงาน รอบ1 รอบ2 ระดับ เขต 1 ประเทศ 1. อัตราการเสียชีวิตผู้ป่วยใน ที่มีค่า Ps Score ≥ 0.75 (รพ.ระดับ A) < 0.1% 0.74 0.35 0.25 0.63 2. ER คุณภาพ (รพ.ระดับ A-F1) 80% 100 92.99 88.30 3. ECS คุณภาพ (รพ.ระดับ A,S,M1) 82.72

สาขามะเร็ง ตัวชี้วัด เป้าหมาย % ผลงาน รอบ1 รอบ2 ระดับ เขต 1 ผลการดำเนินงาน ปี 2559 ผลงาน รอบ1 รอบ2 ระดับ เขต 1 ระดับประเทศ ร้อยละของผู้ป่วยโรคมะเร็งที่มีข้อบ่งชี้ได้รับการรักษาภายในเกณฑ์ที่กำหนด 1 การผ่าตัดภายใน 4 สัปดาห์ 80 87.50 92.10 83.18 81.08 2 เคมีบำบัดภายใน 6 สัปดาห์ 74.60 85.11 90.85 85.14 3 รังสีรักษาภายใน 6 สัปดาห์ 94.10 97.80 91.39 74.17

ความก้าวหน้าในการดำเนินการ ตัวชี้วัด เป้า หมาย ผลงาน ต.ค. – ธ.ค. ม.ค. – มี.ค. เม.ย-มิย. รวม 1. ผู้ป่วยมะเร็งเต้านม ได้รับการผ่าตัด MRM ใน 4 สัปดาห์ 80% 87.50 % (28/32) 91.89 % (34/37) 95.55 (43/45) 92.10% (105/114) 2. ผู้ป่วยโรคมะเร็งได้รับ การฉายรังสีรักษา ใน 6 สัปดาห์ 94.12% (32/34) 100 % (29/29) 100% (28/28) 97.80 % (89/91) 3. ผู้ป่วยโรคมะเร็งได้รับ การให้เคมีบำบัดใน 94.44(17/18) 79.17(19/24) 80(4/5)* 85.11% (40/47) *ข้อมูลยังไม่ครบถ้วน

สาขาทารกแรกเกิด หัวข้อ เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน ปี 2559 ผลงาน รอบ1 รอบ2 ระดับ เขต 1 ประเทศ 1. อัตราตายของทารกอายุต่ำกว่า 28 วัน ต่อทารกเกิดมีชีพ 1,000 คน ไม่เกินที่กำหนด 5 2.27 2.28 (19/8313) 8.00 (19/2374) นครพิงค์ 2.76 3.63 2. จำนวนเตียง NICU 1:500 ของการคลอด 32 26 (0.82:500 ปี60 นครพิงค์2 สันทราย1 (0.82:500) 88 862

สาขาไต ผลการดำเนินงาน ปี 2559 ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน รอบ1 รอบ2 เขต 1 ระดับประเทศ 1.ผู้ป่วย DM, HT ทีได้รับการค้นหาและคัดกรองโรคไตเรื้อรัง 80% 12 50.0 (97,290/194,788) 51.94 54.85 2. มีการดำเนินการ CKD Clinic 100% 100 88.6 97.53 3.อัตราการลดลงของ eGFR < 4 ml/min/1.72 m2/y >50% 61.66 (320/519) 59.9 (6,697/11,185) 63.25 62.81

ความก้าวหน้าในการดำเนินการ (Small Success) ตัวชี้วัด เป้าหมาย ช่วงเวลา ต.ค. – ธ.ค. 58 ม.ค. – มี.ค. 59 เม.ย – มิย.59 รวม 1. ร้อยละของผู้ป่วยมีอัตราการลดลงของ eGFR < 4 ml/min/1.72 m2/yr ≥ 50 % 61.0 % 60.1 % 59.9 % (6,697 / 11,185) 2. คัดกรอง CKD ในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยง (DM, HT) 80 % 12.0 % 30.6 % 49.9 % (97,290 / 194,788) 3. จัดบริการ CKD Clinic ใน รพ.ระดับ F2 ขึ้นไป F2 ขึ้นไป 100 % ( A,M1, 3 แห่ง) (A ,M1+M2 6 แห่ง) (23 แห่ง -แยก CKD 11 -รวม NCD 12) (23/23)

ร้อยละของรพ.ที่มี PD และ HD สาขาไต มีบริการ PD และ HD ครบ 100% ใน รพ.ระดับ M1 ขึ้นไป ระดับโรงพยาบาล ชื่อรพ. มีบริการ PD และ HD ไม่มีบริการ PD และ HD ร้อยละของรพ.ที่มี PD และ HD รพศ.(A) นครพิงค์ - HD 17 เครื่อง (คนไข้ 41 ราย) - CAPD 224 ราย   100 รพท. (S) รพท.ขนาดเล็ก (M1) จอมทอง - มี HD 31 เครื่อง (คนไข้ 137 ราย) - CAPD 77 ราย ฝาง - มี HD 25 เครื่อง (คนไข้ 128 ราย) - CAPD 134 ราย

สาขาโรคไม่ติดต่อ NCD หัวข้อ เป้า หมาย ผลการดำเนินงาน ปี 2559 ผลงาน รอบ1 รอบ2 ระดับเขต 1 ระดับประเทศ ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี ≥ 40 51.56 37.92 39.97 31.99 ร้อยละของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี ≥ 50 79.23 68.46 47.40 49.43 อัตราการรับไว้รักษาในโรงพยาบาลผู้ป่วย โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ‹ 130 ต่อแสนประชากร - 235.36 210.69 82.38

สาขาโรคหลอดเลือดสมอง หัวข้อ เป้า หมาย ผลการดำเนินงาน ปี 2559 ผลงาน รอบ1 รอบ2 ระดับ เขต 1 ประเทศ 1.อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองต่อปีคิดเป็นร้อยละ < 7% 13.57 6.27 7.82 6.38 2.อัตราการได้รับยาละลายลิ่มเลือดภายใน 60 นาที > 65% 14.28 70.59

สาขาจักษุ ผลการดำเนินงาน ปี 2559 ตัวชี้วัด เป้า หมาย ผลงาน รอบ1 รอบ2 ระดับ เขต 1 ประเทศ ร้อยละผู้สูงอายุ 60ปีขึ้นไปได้รับการคัดกรองตาต้อกระจกในผู้สูงอายุ 75 10 80.32 (197,371/ 245,737) 35.84 60.38 Blinding cartaract ที่ผ่าตัดภายใน 30 วัน 80 54 68 74.94 79.59 Low Vision cataract ได้รับการผ่าตัดภายใน 90 วัน 86 90.72 82.58

ความก้าวหน้าในการดำเนินการ ตัวชี้วัด เป้า หมาย ผลงาน ต.ค. – ธ.ค. ม.ค. – มีค. เม.ย-มิย. รวม 1. ผู้ป่วยต้อกระจกระยะบอด (Blinding Cataract) ได้รับการผ่าตัดภายใน 30 วัน ≥ 80% 43% 62% 56% 2. ผู้ป่วยต้อกระจกระดับสายตามัวได้รับการผ่าตัดภายใน 90 วัน 83% 89% 86% 87% 3.ผู้สูงอายุ ได้รับการ ตรวจวัดระดับสายตา อสม. 55% (133,211/ 241,060) 81% (198,176/ 245,736) (ปี2558 31%)

5 สาขาหลัก ตัวชี้วัด outcome ตัวชี้วัด service ตัวชี้วัด เป้าหมาย 1 ร้อยละการส่งต่อผู้ป่วย 5 สาขาหลักจาก รพ.แม่ข่าย M2 refer out ไป รพศ./รพท. Refer in ลดลง 30 % ตัวชี้วัด service ตัวชี้วัด เป้าหมาย 1 Appendectomy at M2 25 2 Caesarean section at M2 10 3 Non-displaced Fracture care at M2 (RW<0.5) 4 Decrease refer in sepsis 30 5 Decrease refer in pediatric respirator

จำนวนการผ่าตัดไส้ติ่ง สาขาศัลยกรรม โรงพยาบาล จำนวนการผ่าตัดไส้ติ่ง ต.ค.-ธ.ค. ม.ค.-มี.ค. เม.ย.-พ.ค. รวม ร้อยละ รพ.นครพิงค์ 264 234 181 679 33.88 รพ.จอมทอง 176 182 136 494 24.65 รพ.ฝาง 101 76 64 241 12.03 รพ.สันทราย 60 56 (รอข้อมูล) 116 5.78 รพ.สันป่าตอง 122 119 70 311 15.52 รพ.หางดง 71 55 37 163 8.14 794 722 488 2004 100.00

ความก้าวหน้าในการดำเนินการ ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ต.ค. – ธ.ค. ม.ค. – มี.ค. เม.ย- มิย. รวม 1. ลดความแออัดใน รพ. A Refer In ลดลง 30% (ปี 2558 ส่งมา 304 คน) 121 คน 61 คน 76 คน 258 คน 2.ร้อยละการผ่าตัดไส้ติ่ง ใน รพ.M1 ลงไป (มากกว่า25%) 66.8 % (530/794) 67.6 % (488/722) 62.9% (307/488) 66.1 % (1325/2004)

สาขาสูติกรรม มารดาในเขตใกล้เมืองนิยมไปรับบริการในโรงพยาบาลขนาดใหญ่ ลำ ดับ รายการ เป้าหมาย ผลการดำเนินงาน 2556 2557 2558 2559 ( 6 เดือน ) 1 อัตรา Caesarean section ใน รพ. ตั้งแต่ M2 ลงไป ร้อยละ 10 ของ Caesarean section ในจังหวัด 13.55 8.73 9.61 12.30 มารดาในเขตใกล้เมืองนิยมไปรับบริการในโรงพยาบาลขนาดใหญ่

สาขาอายุรกรรม ตัวชี้วัด ผลงาน รอบ1 รอบ2 อัตราการส่งต่อ (Refer in ) 80 อัตราการตาย 31.47 20.15 (133/660) อัตราการเข้าถึงระบบ Sepsis fast track 35 อัตราการเข้าถึง ICU ภายใน 3 ชั่วโมง - 97.82 สถานบริการมีการใช้CPG 96 อัตราการตายจาก UGIH 9.45 (45/476)

ความก้าวหน้าในการดำเนินการ ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลงาน ต.ค. – ธ.ค. ม.ค. – มี.ค. เม.ย-มิย. รวม 1. ลดอัตราการตาย ผู้ป่วย SEPSIS < 20% (ปี 2558 31.74%) (352/1109) 22.38% (94/420) 16.25% (39/240) 24.68% (58/235) 20.15% (133/660) 2. อัตราการตาย UGIH < 10 % 8.78% (13/148) 11.48 (17/180) 10.13 (15/148) 9.45 % ( 45 / 476 ) รพ.นครพิงค์

สาขาออโธปิดิกส์ ตัวชี้วัด เป้า หมาย ผลงาน ต.ค. – ธ.ค. ม.ค. – มี.ค. เม.ย-มิย. รวม 1.อัตราการส่งต่อผู้ป่วย Non displaced fracture (RW <0 .5) จากโรงพยาบาลระดับ M2 ลงไปมายัง รพศ/รพท. < 12.5% 15.6% (177/1133) 13.3% (142/1080) 14.4% (248/1721) (567/3934) 2.อัตราการส่งต่อผู้ป่วยออร์โธปิดิกส์ RW < 0.5 (Refer in) มา รพ.ศูนย์/รพ.ทั่วไป (เปรียบเทียบช่วงเวลาเดียวกันกับ ปี 2557) ลดลง 30% (ปี 2557) 167 154 247 568 (ปี 2559) 177 142 248 567 + 5.9% - 7.7 % +0.4 -0.17 %

ตัวชี้วัดระดับประเทศ ตัวชี้วัดระดับพื้นที่ สาขากุมารเวชกรรม ตัวชี้วัดระดับประเทศ เกณฑ์ ภาพรวม มิย. 59 -ร้อยละการส่งต่อผู้ป่วย 5 สาขาหลักลดลง ลดลง 30 % ลดลง 41% -โรงพยาบาลระดับ M2ลงไปสามารถดูแลผู้ป่วยเด็กที่ On ventilator ได้ 100% ตัวชี้วัดระดับพื้นที่ ผู้ป่วยThalassemia ชนิด TDT - Pretransfusion Hb ≥ 9 gm/dl หรือ Hct. ≥ 27 %  อย่างน้อย 25% 20% (227/965) -ระดับ Ferritin ลดลงจากBase line ๑๕ % ในผู้ป่วย TDT อย่างน้อย 25% 31.5%

ความก้าวหน้าในการดำเนินการ ตัวชี้วัด เป้า หมาย ผลงาน ต.ค. – ธ.ค. 58 ม.ค. – มี.ค. 59 เม.ย -มิย. รวม 1.โรงพยาบาลระดับ M2 ลงไปสามารถดูแลผู้ป่วยเด็กที่ On ventilator ได้ 100% 100 % 2. ผู้ป่วยThalassemia ชนิด TDT - Pretransfusion Hb ≥ 9 gm/dl หรือ Hct. ≥ 27 % > 25% 23.4 % (42/179) 28.3 % (59/208) 23.5 % (227/965) 23.5 % 3. ระดับ Ferritin ลดลงจากBase line 15 % ในผู้ป่วย TDT 26 % 20 % 31.5%

องค์ประกอบที่ 1จัดบริการ สาขาสุขภาพช่องปาก อัตราการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก ประชากรทุกกลุ่ม >ร้อยละ 30 ประชากร ปี 2559 OP ทันตกรรม (คน) อัตราการเข้าถึงบริการ ทันตกรรม รวม 1,352,500 236,679 17.5 ตัวชี้วัดการจัดบริการสุขภาพช่องปาก รพ.สต./ศสม. อำเภอ จำนวน รพ.สต./ศสม. ทั้งหมด องค์ประกอบที่ 1จัดบริการ อย่างน้อย สัปดาห์ละ 1 วัน องค์ประกอบที่ 2 (จัดบริการสุขภาพ ช่องปากที่มีคุณภาพ ตามเกณฑ์ 5 กลุ่ม 14 กิจกรรม) องค์ประกอบที่ 3 จัดบริการครอบคลุม >200คน/1,000 ปชก. ดำเนินการครบทั้ง 3 องค์ประกอบ รอบ1 266 79.7 27.8 33.5 89 รอบ2 80.83 69.92 47.37 126 47.4

สาขาสุขภาพช่องปาก ข้อเสนอแนะ การพัฒนาแนวทางจัดการข้อมูลของจังหวัด รวมถึงการ จัดอบรม ๔๓ แฟ้ม ที่ผ่านมา จังหวัดควรมีการ ติดตามผล เพื่อหาโอกาสในการพัฒนาต่อไป ควรกำหนดแนวทางพัฒนา Oral Health CUP Manager เพื่อให้สามารถช่วยในการขับเคลื่อนงานใน พื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ผลักดันการสร้างเครือข่ายการทำงาน โดยบูรณาการ งานทันตสาธารณสุขร่วมกับงานส่งเสริมสุขภาพตามกลุ่ม วัย และ DHS เพื่อเพิ่มความครอบคลุมการทำงานให้ มากยิ่งขึ้น

การเข้าถึงบริการโรคจิต (ร้อยละ 55) โรคซึมเศร้า (ร้อยละ 43) สาขาสุขภาพจิต จิตเวชและยาเสพติด การเข้าถึงบริการโรคจิต (ร้อยละ 55) โรคซึมเศร้า (ร้อยละ 43)

อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ สาขาสุขภาพจิต จิตเวชและยาเสพติด อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ เป้าหมาย ไม่เกิน 6.5 ต่อ ปชก.100,000 คน ข้อมูล 6 เดือน

สาขาสุขภาพจิต จิตเวชและยาเสพติด 3 month Remission Rate เป้าหมาย ร้อยละ 92

สาขาสุขภาพจิต จิตเวชและยาเสพติด ตัวชี้วัด ผลงาน รอบ1 รอบ2 ร้อยละของผู้มีปัญหาสุขภาพจิตเข้าถึงบริการ - โรคจิต -โรคซึมเศร้า 71.28 36.82 136 อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ 2.87 5.80 3 month Remission Rate 74.70 81.85

สาขาสุขภาพจิต จิตเวชและยาเสพติด ตรวจสอบการลงข้อมูลของจังหวัด สาขาสุขภาพจิต จิตเวชและยาเสพติด ข้อเสนอแนะ ประสานความร่วมมือภาครัฐ เอกชน ภาคีเครือข่าย เพื่อการรณรงค์ ส่งเสริมป้องกันการฆ่าตัวตาย กรมสุขภาพจิตพัฒนาองค์ความรู้ งานวิจัย โปรแกรม หรือ หลักสูตร เพื่อรองรับปัญหาการฆ่าตัวตาย ร่วมกันตรวจสอบการลงข้อมูลของจังหวัดเพื่อให้ได้ ข้อมูลที่ถูกต้อง

สาขาแพทย์แผนไทย เปรียบเทียบ : ร้อยละผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยฯ ของจังหวัดเชียงใหม่ ปี 2556 - 2559 2556 ที่มา : ข้อมูลจาก HDC ณ วันที่ 4 ก.ค. 2559

เปรียบเทียบ: จำนวนบุคลากรด้านการแพทย์แผนไทยฯ(คน) บุคลากรด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ประกอบด้วย แพทย์แผนไทยมีใบประกอบ ,บุคลากรด้านการแพทย์แผนไทย,ผู้ช่วยแพทย์แผนไทย(372/330 ชม.) ,หมอนวดไทย,แพทย์แผนจีน

เปรียบเทียบ : ร้อยละผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยฯ รายอำเภอ เป้าหมายระดับประเทศ : ร้อยละ 18 เป้าหมายระดับจังหวัด :ร้อยละ 15

เปรียบเทียบ : ร้อยละผู้ป่วยนอกได้รับบริการการแพทย์แผนไทยฯ กับจำนวนแพทย์แผนไทย สัดส่วนร้อยละการให้บริการไม่สัมพันธ์กับจำนวนคน : ไม่รวมแพทย์แผนจีน

การขับเคลื่อน service plan จ.เชียงใหม่ สาขาแพทย์แผนไทย การขับเคลื่อน service plan จ.เชียงใหม่ ข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย การมองถึงความก้าวหน้าของบุคลากรสหวิชาชีพที่มา รับผิดชอบงานแพทย์แผนไทย ใน สสจ./รพท./รพช. ที่ไม่ใช่แพทย์แผนไทย เช่น เภสัชกร พยาบาล เป็นต้น ปรับรูปแบบงานบริการในหน่วยงานภาครัฐการนวด เพื่อการรักษามากขึ้น เพื่อสร้างความแตกต่างกับสถาน ประกอบการเพื่อสุขภาพที่ให้บริการการนวดเพื่อสุขภาพ จัดทำกรอบอัตรากำลังแพทย์แผนไทยให้ครอบคลุม พื้นที่บริการและมีนโยบายในการกพัฒนาสมรรถนะใน การนวดรักษามากขึ้น สนับสนุนการผลิตยาของโรงพยาบาลที่ได้มาตรฐาน GMP ในเขตสุขภาพที่ 1 ให้มีกำลังการผลิตให้ เพียงพอกับการใช้กับโรงพยาบาลทีให้บริการแพทย์ แผนไทย

ภาพรวม การขับเคลื่อน service plan สาขาของ service plan Provider Board เข้มแข็ง :ผู้นำ,policy มีแผน มีการ Implement M&E สาขาของ service plan ความก้าวหน้า : สูง โครงการ นวัตกรรม : มากมาย การเชื่อมโยงในระดับโซนล้านนา1 ,ระดับเขต

Thank You