การปฏิบัติงานในระบบ GFMIS ช่วงสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2559 เร่งรัดการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 ในส่วนการจัดซื้อจัดจ้าง (โดยเฉพาะงบลงทุน)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
หน่วย : ล้าน บาท ผลการเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปี พ. ศ ปี พ. ศ. จำนวนเงิน ที่ขอกัน เบิกจ่ายร้อยละ ,
แนวทางการบริหารงบประมาณ
ตราด สำนักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัด นางสาวอุสิมา สิงห์โตทอง
1. 2 งบประมาณ ทั้งสิ้น 33, ลบ. งบประจำ ลบ. (0.37%) งบ บุคลากร ลบ. (0.25%) งบ ดำเนินงา น ลบ. (0.12%) งบลงทุน 33,
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการ กรม สำนักงานสหกรณ์จังหวัด สระบุรี ( กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการบริหารการ จัดการสหกรณ์ ) ข้อมูล ณ วันที่ 25 ธันวาคม โครงการตามนโยบายรัฐบาล.
1 ผลการดำเนินงานและการใช้จ่าย งบประมาณปี 2555 ผลการดำเนินงานและการใช้จ่าย งบประมาณปี 2555 สำนักแผนงาน กรมทางหลวงชนบท ข้อมูล ณ 30 เม.ย. 55.
อัตราบรรจุ ข้าราชการ 2625 พนักงานราชการ 99 ลูกจ้างประจำ 77 รวม 4241 อัตราว่าง จำนวน 1 อัตรา ตำแหน่งนักทรัพยากรบุคคลชำนาญการ มาช่วย ราชการ น. ส. สุริยา.
เดือนต.ค.พ.ย.ธ.ค.ม.ค.ก.พ.มี.ค.เม.ย.พ.ค.มิ.ย.ก.ค.ส.ค.ก.ย. เป้าหมายรัฐ (ทุกงบ) % เป้าหมาย (งบลงทุน) %
1 ผลการดำเนินงานและการใช้จ่าย งบประมาณปี 2555 ผลการดำเนินงานและการใช้จ่าย งบประมาณปี 2555 สำนักแผนงาน กรมทางหลวงชนบท ข้อมูล ณ 29 ก.พ. 55.
1 ผลการดำเนินงานและการใช้จ่าย งบประมาณปี 2554 พลางก่อน ผลการดำเนินงานและการใช้จ่าย งบประมาณปี 2554 พลางก่อน สำนักแผนงาน กรมทางหลวงชนบท ข้อมูล ณ 23 ธ.ค.54.
ชี้แจงเกณฑ์การประเมินผล ตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิภาพ 1.
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
การจัดซื้อจัดจ้างตามระเบียบ พัสดุ ประกาศคณะรักษาความรักษา ความสงบแห่งชาติ การซื้อและ การจัดจ้างด้วยระบบ อิเล็กทรอนิกส์ (e – GP) และการบริหาร งบประมาณ ขององค์กรปกครองส่วน.
แนวทางการบริหารจัดการ และการเบิกจ่าย งบประมาณ ปี 2559 โดย ฝ่ายบริหารทั่วไป สำนักงานเกษตรจังหวัดลำปาง.
กลุ่มงานบริหารทั่วไป มีงานในความรับผิดชอบ จำนวน ๓ งาน ได้แก่ - งานสารบรรณและงานธุรการทั่วไป - งานพัสดุ - งานการเงินและบัญชี
ผลการปฏิบัติงานของ กลุ่มส่งเสริมและ พัฒนาการบริหาร การจัดการสหกรณ์ ประจำเดือน มกราคม 2558.
ขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง ตามระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการพัสดุ พ
KM การเบิกจ่ายโครงการ กลุ่ม 3 1. นายณัฐกร ตุ้ยทา 2. นางสาวอภิวันท์ สิ้มศรีสุข 3. นางสาวศิริกาญจน์ กิตติชยานนท์
แนวปฏิบัติทางบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ระบบการควบคุมภายในกลุ่มวิสาหกิจชุมชน
ประชุมชี้แจง การปฏิบัติงานในระบบ GFMIS ช่วงสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
นางละเอียด เอี่ยมสุวรรณ กองคลัง กรมควบคุมโรค
1 โครงการระบบการชำระเงิน แบบ Any ID
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
การปรับปรุงบัญชี และการแก้ไขข้อผิดพลาด
น.ท.สุขสันต์ เหมศรี หน.ค่าใช้จ่าย กงต.กง.ทร. โทร 55562
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
มาตรการกระตุ้นการเร่งรัดการเบิกจ่าย
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
โดย นายทรงเกียรติ ตาตะยานนท์ ผู้อำนวยการส่วนจัดการงบประมาณ
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
การบริหารจัดการหนี้ค้างชำระ กองทุนพัฒนาบทบาทสตรี
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การปฏิบัติราชการของส่วนราชการระดับหน่วยงานภายใน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
การจัดทำบัญชีสิ้นปีงบประมาณ
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
ประชุมชี้แจงขั้นตอนการปฏิบัติงาน
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณและการดำเนินงานของสถาบันอุดมศึกษา ประจำปีงบประมาณ พ.ศ มีนาคม 2560.
ประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
วาระที่ ผลการประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การเตรียมความพร้อมบุคลากร สำนักแผนงานและโครงการพิเศษเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ของหน่วยงานในพื้นที่
ระบบบริหารการเงินการคลัง และแนวทางการควบคุม
ประเด็นปัญหาที่ตรวจพบจากการตรวจสอบ
สำนักงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ สาขา 7
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
โดย นางสุลัดดา บุญรักษ์
โจทย์ที่ได้รับ การดำเนินการจัดซื้อน้ำมันเชื้อเพลิงตาม ว 462
ความคืบหน้าการจ้างลูกจ้างชั่วคราว เป็นพนักงานกระทรวงสาธารณสุข (พกส.)
ตัวชี้วัดที่ 15 ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
ตัวชี้วัดที่ 3 ร้อยละการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ
รายงานในระบบ GFMIS และการวิเคราะห์ข้อมูลในรายงาน
แนวปฏิบัติ การจัดสวัสดิการภายในส่วนราชการ
การปฏิบัติงานในระบบ GFMISช่วงสิ้นปีงบประมาณ
ร้อยละของการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (ภาพรวม งบลงทุน)
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
การเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี และข้อผิดพลาด
การประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบ ภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ.
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
The Comptroller General's Department
การจัดการความรู้ด้านงานสนับสนุน
การจัดทำแผนการจัดซื้อจัดจ้าง
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การปฏิบัติงานในระบบ GFMIS ช่วงสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ เร่งรัดการเบิกจ่ายเงินงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ในส่วนการจัดซื้อจัดจ้าง (โดยเฉพาะงบลงทุน) การกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี ระบบการชำระเงินด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (e - payment) ซึ่งจะเริ่มใช้งานตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2559 เป็นต้นไป วันที่ 1 กันยายน 2559 เวลา น. ณ ห้องประชุม Operation Room ชั้น 2 อาคาร 1 กรมส่งเสริมการเกษตรจัดประชุมผ่าน VDO Conference เพื่อชี้แจงเรื่องเกี่ยวกับงานคลังให้แก่หน่วยงานในสังกัด ส่วนกลางและส่วนภูมิภาค ดังนี้

การปฏิบัติงานช่วงสิ้นปีงบประมาณ ของส่วนราชการ

การปฏิบัติงานในระบบ GFMIS ช่วงสิ้นปี

ด้านการเบิกจ่ายในระบบ GFMIS 1 ด้านการรับและการนำส่งเงินในระบบ GFMIS 2 ด้านการบัญชี 3

1. ด้านการเบิกจ่ายเงิน กรณีต้องการยกเลิกการ CONFIRM เนื่องจากสามารถก่อหนี้ผูกพันหรือ เบิกจ่ายเงินได้ทัน ให้ส่วนราชการทำหนังสือแจ้งกรมบัญชีกลาง (กรจ.) ภายในวันศุกร์ที่ 30 กันยายน คัดเลือก (LIST) และยืนยัน (CONFIRM) เอกสารสำรองเงิน และใบสั่งซื้อสั่งจ้าง (PO) ที่ขอขยายและขอกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี 1.2 ตรวจสอบงบประมาณคงเหลือ เพื่อดำเนินการกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี 1.1 ใบสั่งซื้อสั่งจ้างที่มีมูลค่าต่ำกว่า 100,000 บาท ต้องเบิกจ่ายให้ทันภายในวันศุกร์ที่ 30 กันยายน 2559

บันทึกรายการขอเบิกเงิน (ขบ.) ใบสั่งซื้อสั่งจ้าง (PO) รายการปรับหมวดรายจ่าย รายการเบิกหักผลักส่งไม่รับตัวเงิน ให้แล้วเสร็จภายในวันศุกร์ที่ 30 กันยายน ตรวจสอบสถานะการเบิกจ่ายเงินในระบบ GFMIS ว่าเป็นสถานะอนุมัติขั้นที่ 2 (สถานะ B) ด้านการเบิกจ่ายเงิน (ต่อ)

ข้อควรระวังการโอนเงินช่วงสิ้นปีเพื่อไม่ให้ธนาคารปฏิเสธการโอนเงิน 1. บัญชีปิด / บัญชีถูกอายัด 2. ไม่มีบัญชีในแฟ้มข้อมูลของธนาคาร 3. เลขที่บัญชีไม่ถูกต้อง 4. บัญชีถูก Lock เนื่องจากมีคำสั่ง / บัญชีไม่เคลื่อนไหวเกิน 6 เดือน 5. กรณีมีการโอนสิทธิการรับเงิน 6. บัญชีเงินฝากประจำ / เผื่อเรียกพิเศษ / ออมทรัพย์แบบมีเงื่อนไข 7. จำนวนเงินคงเหลือสุทธิไม่ถึงขั้นต่ำ ด้านการเบิกจ่ายเงิน (ต่อ)

 ด้านการรับเงินสามารถดำเนินการได้ตามปกติ  การบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืน หากส่วนราชการมีความประสงค์จะ เบิกเงินดังกล่าวให้ทัน ภายในวันศุกร์ที่ 30 กันยายน 2559 ขอให้นำส่ง เงินและบันทึกรายการเบิกเกินส่งคืนให้แล้วเสร็จ ภายใน วันจันทร์ที่ 26 กันยายน 2559 และบันทึกการตรวจสอบการบันทึก ในระบบให้ถูกต้องครบถ้วน 2. ด้านการรับและนำส่งเงิน

3. ด้านบัญชี 3.1 การตรวจสอบข้อมูลและรายงาน 3.2 การปรับปรุงรายการบัญชีตามเกณฑ์คงค้าง 3.3 การปิดบัญชี 3.4 การจัดทำรายงานงบทดลอง 3.5 การรายงานผลการประเมินการปฏิบัติงานด้านบัญชีการเงิน

3.1 การตรวจสอบข้อมูลและรายงาน รายงานข้อมูลบัญชีผิดดุลและรายงานข้อมูลบัญชี ที่ต้องไม่มียอดคงค้าง บัญชีเงินสดในมือ : รายงานเงินสดคงเหลือประจำวันที่จัดทำตามระเบียบ การเบิกจ่ายเงินฯ พ.ศ บัญชีเงินฝากธนาคาร : Bank Statement หรือสมุดคู่ฝากบัญชีเงินฝากคลัง :รายงานแสดงการเคลื่อนไหวเงินฝากคลัง

1. รายได้ค้างรับ 2. รายได้รับล่วงหน้า 3. รายได้แผ่นดินรอนำส่งคลัง 4. วัสดุคงคลัง/ค่าวัสดุ 5. ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย 6. ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า 7. ค่าเสื่อมราคา/ค่าตัดจำหน่าย 8. ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 3.2 การปรับปรุงรายการบัญชีตามเกณฑ์คงค้าง

กรณีมียอดคงเหลือด้านเดบิต เดบิต รายได้สูง (ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายสะสม เครดิต รายได้สูง (ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ และ/หรือ ผลสะสมจากการแก้ไขข้อผิดพลาด 3.3 การปิดบัญชี กรณีมียอดคงเหลือด้านเครดิต เดบิต รายได้สูง (ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ และ/หรือ ผลสะสมจากการแก้ไขข้อผิดพลาด เครดิต รายได้สูง (ต่ำ) กว่าค่าใช้จ่ายสะสม

3.4 การจัดทำงบทดลอง(สิ้นปี) ประจำปี  รายงานงบทดลองประจำปีงบประมาณ พ.ศ (งวด 1 – 16)  รายงานที่เกี่ยวข้องกับเงินทดรองราชการ ส่งให้สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (ภายใน 60 วันนับจากวันสิ้นปีงบประมาณ) ประจำเดือน รายงานงบทดลองประจำเดือนกันยายน 2559 ส่งให้สำนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน (ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป)

1. บัญชีเงินสด/บัญชีเงินฝากธนาคาร 2. บัญชีพักสินทรัพย์ 3. บัญชีพักที่มียอดคงค้าง 4. งบทดลองแสดงข้อมูลทางบัญชีที่ถูกต้อง ตามดุลบัญชีปกติทุกบัญชี 5. งบทดลองระดับหน่วยเบิกจ่าย 6. การจัดส่งรายงานการเงินระดับกรม 7. การตรวจสอบรายงานงบทดลองและรายงานการเงิน 8. การสนับสนุน ติดตาม ดูแลหน่วยเบิกจ่ายภายใต้สังกัด 3.5 การรายงานผลการประเมินการปฏิบัติงานด้านบัญชีการเงิน

15 มาตรการสนับสนุน การเร่งรัดการเบิกจ่ายงบประมาณ

เป้าหมายการเบิกจ่ายเงินงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 30% 52% 19% 41% 63% 87% รายจ่ายลงทุน 73% 96% รายจ่ายภาพรวม

17 แนวทางการดำเนินงาน เริ่มจัดซื้อจัดจ้างตั้งแต่ร่าง พ.ร.บ. ผ่านการพิจารณาของกรรมาธิการแล้ว (25 ส.ค. 59) เร่งก่อหนี้และเบิกจ่ายรายจ่ายลงทุนปีเดียว  ไม่เกิน 2 ล้านบาท/รายการ ก่อหนี้และเบิกจ่ายภายในไตรมาสที่ 1  เกิน 2 – 1,000 ล้านบาท/รายการ ก่อหนี้ภายในไตรมาสที่ 1 และ เบิกจ่ายตามงวดงาน  วงเงินเกิน 1,000 ล้านบาท/รายการ และผูกพันรายการใหม่ ก่อหนี้ภายในไตรมาสที่ 2 และเบิกจ่ายตามงวดงาน

18 เร่งโอนจัดสรรงบประมาณไปยังสำนักเบิกส่วนภูมิภาคภายใน 3 วันทำการ (อย่างช้าไม่เกินวันที่ 7 ต.ค. 59) เร่งก่อหนี้และเบิกจ่ายเงินกันไว้เบิกเหลื่อมปีโดยเร็ว เร่งรัดให้เริ่มดำเนินการและเริ่มการเบิกจ่ายรายจ่ายประจำ ตั้งแต่ไตรมาส 1 โดยงบฝึกอบรมเบิกจ่ายร้อยละ 50 ภายในไตรมาส 1 แนวทางการดำเนินงาน

19 การรายงานคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบผลการเร่งรัดของหน่วยงานเป็นรายเดือน จะใช้ข้อมูลการจัดซื้อจัดจ้างจากระบบ e-GP ตั้งแต่ขั้นตอนจัดทำร่าง TOR ผู้มีอำนาจเห็นชอบรายงานขอซื้อขอจ้าง ประกาศเชิญชวน และผู้มีอำนาจ อนุมัติสั่งซื้อสั่งจ้าง รวมทั้งผลการเบิกจ่ายงบประมาณของทุกหน่วยงาน แนวทางการดำเนินงาน

20 หลักเกณฑ์การกันเงินไว้เบิกเหลื่อมปี เงินงบประมาณปี พ.ศ จากการสั่งซื้อ/สั่งจ้าง/การเช่าทรัพย์สินครั้งหนึ่งรายหนึ่ง ตั้งแต่ 100,000 บาทขึ้นไป (เดิม 50,000 บาท) ได้ถึงมีนาคมของปีถัดไป (หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค /ว 31 ลงวันที่ 28 มีนาคม 2559) จากการสั่งซื้อ/สั่งจ้าง/การเช่าทรัพย์สินครั้งหนึ่งรายหนึ่ง ตั้งแต่ 100,000 บาทขึ้นไป (เดิม 50,000 บาท) ได้ถึงมีนาคมของปีถัดไป (หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค /ว 31 ลงวันที่ 28 มีนาคม 2559) งบกลาง รายการเงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินและจำเป็นที่อยู่ระหว่างดำเนินงานโครงการ (หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค /ว 101 ลงวันที่ 30 สิงหาคม 2559) งบกลาง รายการเงินสำรองจ่ายเพื่อกรณีฉุกเฉินและจำเป็นที่อยู่ระหว่างดำเนินงานโครงการ (หนังสือกระทรวงการคลัง ด่วนที่สุด ที่ กค /ว 101 ลงวันที่ 30 สิงหาคม 2559) กรณีไม่มีหนี้ กรณีมีหนี้

ปัญหาอุปสรรคที่ทำให้การเบิกจ่ายล่าช้า 4 หน่วยงานในพื้นที่ต่างจังหวัดไม่สามารถเริ่มดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างก่อน พ.ร.บ. ประกาศได้ เนื่องจากไม่ได้รับแจ้งรายการที่ผ่านการพิจารณาของกรรมาธิการจากหน่วยงานส่วนกลาง ขาดความต้องการที่ชัดเจนในการจัดหาพัสดุ ส่งผลให้ต้องแก้ไขคุณลักษณะ แบบแปลน หรือเปลี่ยนแปลงรายการ จึงไม่สามารถดำเนินการจัดซื้อจัดจ้างได้ทันที หลัง พ.ร.บ. ประกาศใช้ หน่วยงานส่วนกลางโอนจัดสรรไปยังหน่วยงานส่วนภูมิภาคล่าช้า หน่วยงานจะเร่งดำเนินโครงการที่ใช้เงินกันฯ ก่อน แล้วจึงดำเนินโครงการของงบประมาณ ปีปัจจุบัน ราคากลางที่คำนวณได้สูงกว่าผลการพิจารณาความเหมาะสมด้านราคาจากหน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องทำให้การดำเนินงานล่าช้า

รางวัลองค์กรที่มีความเป็นเลิศในการบริหารจัดการ ด้านการเงินการคลัง

23 แนวคิดในการประเมิน 5 มิติ ด้านการจัดซื้อจัดจ้าง : ส่งเสริมให้ส่วนราชการปฏิบัติงานด้านพัสดุ ได้อย่างถูกต้อง โปร่งใส ตรวจสอบได้ มีการแข่งขันที่เป็นธรรม ลดปัญหาทุจริต และประหยัด ด้านการเบิกจ่าย : การใช้จ่ายให้เกิดประโยชน์สูงสุดต้องอยู่บนพื้นฐาน การบริหารงานโดยไม่เกิดการเสียหาย โปร่งใส มีมาตรการป้องกัน และควบคุมมิให้เกิดการทุจริต และมีคุณธรรมในการปฏิบัติงาน ด้านการบัญชี : ส่งเสริมให้ส่วนราชการปฏิบัติงานทางด้านบัญชีให้ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบันตามมาตรฐานสากล เพื่อสร้างความมั่นใจ ให้กับประชาชน

24 งบประมาณคงเหลือ ณ วันที่ 30 กันยายน 2559 ที่เบิกจ่ายในลักษณะ งบดำเนินงาน เพื่อนำไปใช้จ่ายในการพัฒนาองค์กรและพัฒนาบุคลากร แนวคิดในการประเมิน 5 มิติ (ต่อ) ด้านการตรวจสอบภายใน : เพื่อสร้างความเชื่อมั่นว่าการตรวจสอบภายใน เป็นไปตามมาตรฐานการตรวจสอบภายในและจริยธรรมการปฏิบัติงาน ตรวจสอบภายในของส่วนราชการ และมีผลการตรวจสอบภายใน ที่สามารถสร้างคุณค่าเพิ่มให้กับส่วนราชการ ด้านความรับผิดทางละเมิด : การใช้จ่ายให้เกิดประโยชน์สูงสุด ต้องอยู่บนพื้นฐานการบริหารงานโดยไม่เกิดความเสียหาย โปร่งใส มีมาตรการป้องกันและควบคุมมิให้เกิดการทุจริต และมีคุณธรรม ในการทำงาน

เกณฑ์การประเมิน แบ่งเป็น ๕ มิติ ดังนี้ การจัดซื้อจัดจ้าง การเบิกจ่าย การบัญชี การตรวจสอบภายใน ความรับผิดทางละเมิด ประเภทรางวัล ดีเลิศ ดีเด่น ดี ชมเชย 25

การประเมินด้านการเบิกจ่าย 26

เกณฑ์การประเมินมิติด้านการเบิกจ่าย ระดับรางวัลเกณฑ์การประเมิน ดีเลิศคะแนนผลการประเมินในระดับ 98 คะแนนขึ้นไป ดีเด่นคะแนนผลการประเมินในระดับ 96 – 97 คะแนน ดีคะแนนผลการประเมินในระดับ 94 – 95 คะแนน 27

28

ด้านการจัดซื้อจัดจ้าง

การบันทึกข้อมูลในระบบ e –GP สามารถบันทึกข้อมูลโครงการจัดซื้อจัดจ้างได้ทันที โดย ไม่ต้องระบุรหัสงบประมาณและรหัสแหล่งเงิน แต่ต้องบันทึกรหัสดังกล่าวให้แล้วเสร็จก่อน การลงนามในสัญญา - หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค / ว 316 ลว. 16 ส.ค. 59 ทราบยอดเงิน การเตรียมการจัดหาพัสดุ โดยดำเนินการตามแผน และขั้นตอนการจัดหา พัสดุ จนถึงขั้นตอนได้ตัว ผู้ขายหรือผู้รับจ้าง ลงนามในสัญญา เมื่อได้รับจัดสรรเงิน งบประมาณ

คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่าง พรบ. งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ พิจารณาแล้วเสร็จ ก่อนเสนอสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พิจารณาในวาระที่ 2 ทราบ ยอดเงิน การเตรียมการจัดหาพัสดุ

ดำเนินการตามแผนและขั้นตอนการจัดหาพัสดุ จนถึง ขั้นตอนได้ตัวผู้ขายหรือผู้รับจ้าง เว้นแต่ ขั้นตอนการลงนามในสัญญาหรือข้อตกลงเป็น หนังสือ ให้ดำเนินการเมื่อได้รับจัดสรรเงินงบประมาณ การ เตรียมการ จัดหาพัสดุ

เงื่อนไขในเอกสารประกวดราคา 1. จะลงนามในสัญญาได้เมื่อได้รับจัดสรรเงินงบประมาณ 2. ไม่ได้รับจัดสรรเงินงบประมาณ สามารถยกเลิกการจัดหาได้

การบันทึกรหัสงบประมาณและรหัสแหล่งของเงินในระบบ e-GP (ว 316) ทราบยอดเงิน งบประมาณ บันทึกข้อมูล โครงการ การจัดทำ สัญญา ไม่ต้องระบุรหัส งบประมาณและ รหัสแหล่งเงิน ต้องระบุรหัส งบประมาณและ รหัสแหล่งเงิน เมื่อสำนักงบประมาณกำหนดรหัส งบประมาณแล้ว ส่วนราชการ จำเป็นต้องใส่รหัสงบประมาณ

สรุปขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง ขั้นตอน วิธี ตกลง ราคา วิธี พิเศ ษ วิธี กร ณี พิเศ ษ วิธี สอ บ รา คา e – market e – biddin g 1. กองคลังแจ้งยอดเงิน งบประมาณให้หน่วยจัดซื้อจัดจ้าง ทราบ เพื่อเตรียมการจัดหาพัสดุ √√√√√√ 2. กำหนดรายละเอียด คุณลักษณะเฉพาะของพัสดุ √√√√√√ 3. แต่งตั้งคณะกรรมการคำนวณ ราคากลางงานก่อสร้าง √√√√√√ 4. จัดทำรายงานขอซื้อขอจ้าง เสนอหัวหน้า ส่วนราชการผ่านหัวหน้า เจ้าหน้าที่พัสดุ √√√√√√ 5. นำร่างเอกสาร e – bidding เผยแพร่ให้สาธารณชนวิจารณ์ฯ ( วงเงินจัดหาเกิน 5,000,000 บาท ) √

ขั้นตอน วิธี ตกลง ราคา วิธี พิเศษ วิธี กรณี พิเศษ วิธี สอบ ราคา e – market e – bidding 6. เผยแพร่ประกาศและเอกสารสอบราคา/e – market / e- bidding -----√ 7. เจ้าหน้าพัสดุติดต่อผู้ขาย / ผู้รับจ้างโดยตรง คณะกรรมการจัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีพิเศษ √√√ การพิจารณาผล เจ้าหน้าที่พัสดุ√√√ คณะกรรมการ√√√ สรุปขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง (ต่อ)

ขั้นตอน วิธี ตกลง ราคา วิธี พิเศษ วิธี กรณี พิเศษ วิธี สอบ ราคา e – market e - bidding 9. รายงานผลการดำเนินการต่อหัวหน้าส่วน ราชการ และ ขออนุมัติสั่งซื้อ/สั่งจ้าง √√√√√√ 10. การจัดทำข้อตกลงเป็นหนังสือ/สัญญา √√√√√√ 11.การบริหารสัญญา √√√√√√ 12. การส่งมอบ/ ตรวจรับ/ตรวจการจ้าง √√√√√√ 13. การเบิกจ่ายเงินตามสัญญา √√√√√√ สรุปขั้นตอนการจัดซื้อจัดจ้าง (ต่อ)

มาตรการเพิ่มความคล่องตัวในการจัดหาพัสดุ ปีงบประมาณ พ. ศ ตามหนังสือคณะกรรมการว่า ด้วยการพัสดุ ด่วนที่สุด ที่ กค ( กวพ ) / ว 315 ลง วันที่ 16 สิงหาคม 2559  ขยายเวลามาตรการเพิ่มความ คล่องตัวในการกำหนดวงเงินวิธีการ จัดหาพัสดุออกไปพลางก่อนจนถึง วันที่ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วย หลักเกณฑ์การจัดซื้อจัดจ้างและการ บริหารพัสดุภาครัฐ ซึ่งออกตามความ ในพระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้าง ภาครัฐและการบริหารพัสดุภาครัฐมี ผลใช้บังคับ

ขยายระยะเวลาตามหนังสือ ด่วนที่สุด ที่ กค (กวพ) /ว 315 ลงวันที่ 16 สิงหาคม 2559

KTB Corporate Online การโอนเงิน ว.75 6 กรกฎาคม 59 ว.36 8 เมษายน 59 ว.77 6 กรกฎาคม 59 ว.76 6 กรกฎาคม 59 ว กรกฎาคม 59 ว.xx 29 สิงหาคม 59

เรื่องที่ต้องทำ ก่อนเริ่มต้นดำเนินการ พัฒนา และTest ระบบงาน อมรมวิธีใช้ระบบงาน เปิดบัญชีใหม่/ใช้บัญชีเดิม ส่งข้อมูลบัญชีไปเตรียมการ ทำ MOU/สมัครขอใช้บริการ ผูกบัญชี กำหนด Company code User name, Password ให้ Admin Start Transaction Download Program กำหนด User name, Password

KTB Corporate Online KTB Corporate Online Bill Payment BulkPayment GFMIS (Single) บัญชีเงินฝาก KTB กระแสรายวัน บัญชีเงินฝาก KTB กระแสรายวัน เปิดบัญชีใหม่ /บัญชีเดิม (ถ้ามี) บัญชี GFMIS indirect ที่มีอยู่เดิม ผูกบัญชี กับระบบ จึงใช้งานได้

บัญชีเงินฝาก KTB กระแสรายวัน บัญชีเงินฝาก KTB กระแสรายวัน เปิดบัญชีใหม่ /บัญชีเดิม (ถ้ามี) บัญชี GFMIS indirect ที่มีอยู่เดิม หน่วยเบิกจ่าย 1 หน่วย บัญชีเงินฝาก KTB กระแสรายวัน บัญชีเงินฝาก KTB กระแสรายวัน เปิดบัญชีใหม่ /บัญชีเดิม (ถ้ามี) บัญชี GFMIS indirect ที่มีอยู่เดิม หน่วยเบิกจ่าย 1 หน่วย บัญชีเงินฝาก KTB กระแสรายวัน บัญชีเงินฝาก KTB กระแสรายวัน เปิดบัญชีใหม่ /บัญชีเดิม (ถ้ามี) บัญชี GFMIS indirect ที่มีอยู่เดิม หน่วยเบิกจ่าย 1 หน่วย สาขา แจ้ง

บัญชีเงินฝาก KTB กระแสรายวัน บัญชีเงินฝาก KTB กระแสรายวัน เปิดบัญชีใหม่ /บัญชีเดิม (ถ้ามี) บัญชี GFMIS indirect ที่มีอยู่เดิม หน่วยเบิกจ่าย 1 หน่วย บัญชีเงินฝาก KTB กระแสรายวัน บัญชีเงินฝาก KTB กระแสรายวัน เปิดบัญชีใหม่ /บัญชีเดิม (ถ้ามี) บัญชี GFMIS indirect ที่มีอยู่เดิม หน่วยเบิกจ่าย 1 หน่วย บัญชีเงินฝาก KTB กระแสรายวัน บัญชีเงินฝาก KTB กระแสรายวัน เปิดบัญชีใหม่ /บัญชีเดิม (ถ้ามี) บัญชี GFMIS indirect ที่มีอยู่เดิม หน่วยเบิกจ่าย 1 หน่วย ส่วนราชการ เจ้าสังกัดระดับกรม แจ้ง

ส่วนราชการ เจ้าสังกัดระดับกรม สมัครขอใช้บริการ MOU ทยอยสมัครได้ ตั้งแต่ 1 สิงหาคม 2559 และให้แล้วเสร็จภายใน 1 ตุลาคม 2559

KTB Corporate Online สนง.ใหญ่ ส่วนราชการ เจ้าสังกัดระดับกรม ผูกบัญชีกับระบบ สาขา สอบยัน

KTB Corporate Online สนง.ใหญ่ ส่วนราชการ เจ้าสังกัดระดับกรม ผูกบัญชีกับระบบ สาขา สอบยัน กำหนด Company code User name Password ให้ Admin

KTB Corporate Online หน่วยเบิกจ่าย 1 หน่วย ส่วนราชการ เจ้าสังกัดระดับกรม หน่วยเบิกจ่าย 1 หน่วย User name Password User name Password User name Password กรอบแนวทางตาม KTB กำหนด การรักษาความปลอดภัยตามมาตรฐาน Company code User name Password Admin

หน่วยเบิกจ่าย 1 หน่วย User name Password User name Password User name Password KTB Corporate Online KTB Corporate Online KTB Corporate Online download

Start Transaction

ขอให้แล้วเสร็จ ภายใน เดือน กันยายน นี้

Start Transaction

ผู้ประกอบการ ธนาคาร ของส่วนราชการ ส่วนราชการ บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ส่วนราชการ ใบอนุญาต ใบรับรอง Internet Banking ATM Mobilel Payment e-payment เอกสารธนาคาร แทนใบเสร็จรับเงิน 3 รายงานสรุป การโอนเงิน 1 ใบแจ้งการ ชำระเงิน code -ชื่อ สรก. ที่รับชำระเงิน -ชื่อผู้ชำระเงิน -รายการ/ประเภทรายได้ที่รับชำระเงิน -จำนวนเงินที่รับชำระ -วันที่รับชำระ Company code / Reference code กรณีส่วนราชการไม่มีระบบ e-Service หลักเกณฑ์วิธีปฏิบัติในการรับเงินของส่วนราชการผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ KTB Corporate Online สิ้นวันทำการที่โอนงิน และวันทำการถัดไป เปิดบัญชีใหม่/บัญชีเดิม(ถ้ามี) และสมัครขอใช้บริการ KTB Corporate Online : Bill Payment 6

Start Transaction

หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการจ่ายเงินของส่วนราชการ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ ข้าราชการ ส่วนราชการ บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ส่วนราชการ ธนาคาร ของข้าราชการ ธนาคาร ของส่วนราชการ KTB Corporate Online 1 ค่าเล่าเรียนบุตร 2 ค่าตอบแทน ค่าเบี้ยประชุม ค่าเช่าบ้าน OT ค่าตอบแทน คกก. ค่าตอบแทนการสอน ค่าสมนาคุณวิทยากร เป็นต้น 3 เงินยืมราชการ รายงานสรุป การโอนเงิน 1 2 บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ของข้าราชการ เป็นหลักฐานการจ่ายเงิน 3 เต็มจำนวน แบบแจ้งข้อมูล การรับโอนเงิน ผ่านระบบ KTB Corporate Online ข้อมูลผู้มีสิทธิ และบัญชีเงินฝาก ทะเบียนคุมการโอนเงิน ในระบบ Computer เพื่อใช้ตรวจสอบ ความถูกต้อง ไม่ต้องลงลายมือชื่อรับเงิน ในแบบคำขอเบิกเงินใดๆ SMS สิ้นวันทำการที่โอน้งิน ใช้บัญชีสำหรับรับ เงินเดือน ค่าจ้าง ค่าตอบแทน ครั้งแรก Indirect payment GFMIS PromptPay สมัครขอใช้ บริการ KTB Corporate Online Bulk Payment บัญชีอื่น ที่หัวหน้า สรก. ผู้เบิก อนุญาติ

ข้าราชการ ส่วนราชการ บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ส่วนราชการ ธนาคาร ของบุคคลภายนอก ธนาคาร ของส่วนราชการ KTB Corporate Online 1 ค่าเล่าเรียนบุตร 2 ค่าตอบแทน ค่าเบี้ยประชุม ค่าเช่าบ้าน OT ค่าตอบแทน คกก. ค่าตอบแทนการสอน ค่าสมนาคุณวิทยากร เป็นต้น 3 เงินยืมราชการ รายงานสรุป การโอนเงิน 1 2 บัญชีเงินฝาก ธนาคาร ของข้าราชการ เป็นหลักฐานการจ่ายเงิน 3 เต็มจำนวน แบบแจ้งข้อมูล การรับโอนเงิน ผ่านระบบ KTB Corporate Online ข้อมูลผู้มีสิทธิ และบัญชีเงินฝาก ทะเบียนคุมการโอนเงิน ในระบบ Computer เพื่อใช้ตรวจสอบ ความถูกต้อง ไม่ต้องลงลายมือชื่อรับเงิน ในแบบคำขอเบิกเงินใดๆ SMS สิ้นวันทำการที่โอน้งิน Indirect payment GFMIS เงินประเภท อื่นๆ เจ้าหนี้ บุคคลภายนอก บัญชีเงินฝาก ธนาคารของ บุคลภายนอก หลักเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในการจ่ายเงินของส่วนราชการ ผ่านระบบอิเล็กทรอนิกส์ สมัครขอใช้ บริการ KTB Corporate Online Bulk Payment PromptPay

Transaction การจัดการ ค่าธรรมเนียม รับโอน จ่ายโอน รับภาระค่าธรรมเนียมตามอัตราที่แต่ละธนาคารเรียกเก็บตามปกติรับภาระค่าธรรมเนียม(ถูกหักก่อนรับโอนงินเข้าญชี) 0 บาท C2G B2G รับภาระค่าธรรมเนียม (ถูกหักก่อนรับ โอนงินเข้าบัญชี) 10 บาท 10 บาท G2C G2B ผู้โอนเงิน ผู้รับเงิน รับภาระค่าธรรมเนียมตามอัตราที่แต่ละธนาคารเรียกเก็บตามปกติ ผู้โอนเงิน ผู้รับเงิน ค่าธรรมเนียม ไม่มี/ลดลง ค่าธรรมเนียม ไม่มี/ลดลง