ทิศทางการพัฒนาระบบบริการ ปฐมภูมิ และการพัฒนาระบบ สุขภาพ ระดับอำเภอ (DHS) นพ. สมพงษ์ จรุงจิตตานุสนธิ์ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาระบบสุขภาพระกับอำเภอ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ประเด็นในการพัฒนา DHS-PCA
Advertisements

การพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยทำงาน
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเลย
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
เป็นเจ้าภาพหลัก 2 ประเด็น เพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
รายงานผลการดำเนินงาน
การบูรณาการยุทธศาสตร์สุขภาพฯ กลุ่มเด็กวัยเรียน มาตรการ เป้าหมาย วิธีการวัด เป้าหมาย/KPI 1.นโยบายร่วมระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง แผนพัฒนาสุขภาพเด็กวัยเรียนแห่งชาติ/วาระสุขภาพแห่งชาติ
ระดับจังหวัดระดับจังหวัด -คณะกรรมการ - Project Manager - แผนพัฒนาจังหวัด -คณะกรรมการ - Project Manager - แผนพัฒนาจังหวัด.
สำนักงานพัฒนาระบบสาธารณสุข
คณะที่ ๒ : การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Performance Agreement พญ.ประนอม คำเที่ยง รองปลัดกระทรวงสาธารณสุขภารกิจด้านการแพทย์ 27 พฤศจิกายน 2558.
แผนการตรวจราชการ กระทรวงสาธารณสุข กรณีปกติ เขตสุขภาพ ที่ 2.
ข้อมูลทั่วไป จังหวัดศสม.รพสต.กองทุน สุขภาพตำบล สุขศาลา/ ศสมช. (ผ่าน3หมวด) อสม. ร้อยเอ็ด ,887 ขอนแก่น ,600 มหาสารคาม ,524.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
การขับเคลื่อนนโยบาย และการดำเนินงานแบบบูรณาการ ของกระทรวงสาธารณสุข ปี 2559 โดย : นายแพทย์โสภณ เมฆธน ปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
ทิศทางยุทธศาสตร์ เขตสุขภาพที่ 7 ปี นพ. สมศักดิ์ อรรฆศิลป์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 7.
แนวทางการตรวจราชการคุณภาพ เขตสุขภาพที่1
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
อสม.นักจัดการสุขภาพตามกลุ่มวัย
สรุปผลการดำเนินงานตามนโยบายการควบคุมโรคไม่ติดต่อ ด้านการเฝ้าระวังผู้ป่วยโรคเบาหวาน/โรคความดันโลหิตสูง ควบคุมระดับน้ำตาลและความดันได้ดี ปีงบประมาณ 2561.
แผนงานป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อ
สายส่งเสริมตามกลุ่มวัยและประเด็น
เครือข่ายบริการสุขภาพอำเภอน้ำพอง
100 ตำบลต้นแบบในการบูรณาการ ด้านส่งเสริมสุขภาพ 5 กลุ่มวัย และอนามัยสิ่งแวดล้อม โดย กรมอนามัย.
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค
สรุปผลการนิเทศงานศูนย์อนามัยที่ ๖ ระหว่างวันที่ ๒-๓ พฤษภาคม ๒๕๖๐
สรุปแนวทางการดำเนินงานตามกลุ่มวัย
ตัวชี้วัดที่ 1 : อัตราส่วนการตายมารดาไทย ค่าเป้าหมายไม่เกิน 20 ต่อการเกิดมีชีพแสนราย เปรียบเทียบอัตราส่วนการตายมารดารายเขต ปี 2560 กับ 2561ในช่วงเวลาเดียวกัน.
ยุทธศาสตร์ ที่ 1 Promotion, Prevention & Protection Excellence
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การขับเคลื่อนตำบลจัดการสุขภาพ แบบบูรณาการ เขตสุขภาพที่ 6
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
คณะกรรมการพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ เขตสุขภาพที่ 10
การพัฒนาความรอบรู้ด้านสุขภาพ ปีงบประมาณ 2560
SERVICE PLAN สาขาโรคไม่ติดต่อ.
โครงการกำจัดปัญหาโรคพยาธิใบไม้ตับและมะเร็งท่อน้ำดี ถวายเป็นพระราชกุศลฯ
ประชุมติดตามความก้าวหน้าการดำเนินการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๕ เวลา ๑๓.๐๐ น. ณ ห้องประชุม ๔/๑ ศาลากลางจังหวัด.
ตัวชี้วัดมุ่งเน้น ตัวชี้วัดที่ 6
ผู้สูงอายุ เขตสุขภาพที่ 3
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
กลไกการขับเคลื่อนและแผนการใช้แผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และการใช้ค่ากลาง
การตรวจราชการ ประจำปี 2560
การพัฒนาคุณภาพบริการและเครือข่ายสุขภาพ
พัฒนาสุขภาพตามกลุ่มวัย (9 ตัว) กลุ่มเด็กปฐมวัย (๐-๕ ปี)/สตรี 1.อัตราส่วนการตายของมารดาไม่เกิน15ต่อการเกิดมีชีพแสนคน 2.ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีพัฒนาการสมวัย.
โดย นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ รองอธิบดีกรมสนับสนุนบริการสุขภาพ
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
ทพญ.อัมพร เดชพิทักษ์ กลุ่มงานทันตสาธารณสุข
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
นโยบายและแนวทางการดำเนินงาน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
จุดเน้นการดำเนินงานป้องกัน ควบคุมโรค และภัยสุขภาพ ประจำปีงบประมาณ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
กลุ่มงานพัฒนาคุณภาพและรูปแบบบริการ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุดรธานี
การดำเนินงานเขตเศรษฐกิจพิเศษและแรงงานต่างด้าว
คณะพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
ข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) ปีงบประมาณ 2561 ไตรมาสที่ 2 (1 ต.ค. 60 – 31 มี.ค. 61) เขตสุขภาพที่ 12.
แผนยุทธศาสตร์เครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพา ปี 2562
การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ)
ระบบบริการปฐมภูมิและสุขภาพอำเภอ
พัฒนาแผนงาน / ยุทธศาสตร์
ร้อยละของคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ
P S G 5P MODEL Policy PASSION PLANNING PEOPLE PROCESS PERFORMANCE
ประเด็นและแนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 ปีงบประมาณ 2560 การส่งเสริม สุขภาพ ป้องกันโรค และการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ.
ประเด็น ที่ 4 อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
กำหนดการ การนิเทศ ติดตาม ควบคุม กำกับฯ รอบที่ 2 ประจำปี 2560
กรอบการจัดทำแผนปีงบประมาณ 2561
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ทิศทางการพัฒนาระบบบริการ ปฐมภูมิ และการพัฒนาระบบ สุขภาพ ระดับอำเภอ (DHS) นพ. สมพงษ์ จรุงจิตตานุสนธิ์ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาระบบสุขภาพระกับอำเภอ เจริญธานี

กรอบแนวคิดการดำเนินงานระบบ สุขภาพชุมชน “ ประชาชนเข้าถึงบริการทุกระบบที่ได้ มาตรฐาน โดยเครือข่ายบริการเชื่อมโยงไร้ รอยต่อ สามารถบริการเบ็ดเสร็จ ภายในเครือข่ายบริการ ประสานชุมชน เน้น Self Care” VISI ON ตติย ภูมิ ปฐม ภูมิ ทุติย ภูมิ ระบบบริการ 10 สาขา ระบบควบคุม โรค ระบบคุ้มครอง ผู้บริโภค ระบบสิ่งแวดล้อม และสุขภาพ PP 5 กลุ่มวัย FC T ทีมหมอครอบครัวคุณภาพ DHS เข้มแข็งบริหารจัดการผ่านคณะกรรมการระดับ อำเภอ / ตำบล ชุมชนเข้มแข็ง ตำบลจัดการสุขภาพดี อำเภอสุขภาวะ

เป้าประสงค์การพัฒนา ระบบบริการปฐมภูมิ 1.Self Care: ส่งเสริมให้ ประชาชนดูแลตนเองโดยการ ลดพฤติกรรมเสี่ยงตามกลุ่ม อายุ ดูแลตนเองและตัดสินใจ ในการรับบริการได้เหมาะสม 2. Accessibility to essential Care: ประชาชน ทุกกลุ่มเข้าถึงบริการที่จำเป็น อย่างเป็นธรรม 3. เครือข่ายบริการปฐมภูมิมีระบบ บริหารจัดการแบบบูรณาการ และมีประสิทธิภาพ  เพิ่มคุณภาพบริการ ( ลดป่วย ลดตาย ลด ภาวะ แทรกซ้อน )  เข้าถึงบริการ  ลดแออัด  ไร้รอยต่อ  พึ่งตนเองด้านสุขภาพ ขอนแก่นอยู่เย็นเป็นสุข ไม่ทอดทิ้งกัน อายุคาดเฉลี่ย >80 ปี อายุคาดเฉลี่ย สุขภาพดี > 72 ปี ขอนแก่นอยู่เย็นเป็นสุข ไม่ทอดทิ้งกัน อายุคาดเฉลี่ย >80 ปี อายุคาดเฉลี่ย สุขภาพดี > 72 ปี เป้าหมาย มุ่งสู่

กลไกขับเคลื่อนระบบปฐมภูมิ จ. ขอนแก่น ระดับจังหวัด อำเภอ ตำบล หมู่บ้าน Essential Care: กลุ่มวัย 5 กลุ่มวัย + โรคและภัย สุขภาพ เน้น PA & ODOP 4+1 Program Manager Better service -FCT - สุขศาลา Better Management -DHS-PCA- ต. จัดการสุขภาพ -NCD คุณภาพ - อ. ควบคุมโรค เข้มแข็ง Referral cascades system -Service Plan กล ยุทธ์

แนวทางการพัฒนาระบบปฐมภูมิและสุขภาพ ระดับอำเภอ จังหวัดขอนแก่น ปี พัฒนาระบบบริการสุขภาพที่เชื่อมโยงทุก ระดับ ตติ ทุติ ปฐมภูมิให้มีคุณภาพมาตรฐาน - Service Plan 11 สาขา - District health board: DHB - Primary care cluster: PCC - ดูแล 5 กลุ่มวัย ครอบคลุมกลุ่มปกติ เสี่บง ป่วย

2. พัฒนาคุณภาพเครือข่ายบริการปฐม ภูมิ ( รพ.+ สสอ.+ รพสต.) ตามเกณฑ์ คุณภาพ PCA 3. พัฒนาระบบสุขภาพระดับอำเภอ (DHS) ที่เข้มแข็งเชื่อมโยงระบบ สุขภาพสู่การพึ่งตนเองของชุมชน - ตำบล หมู่บ้านจัดการสุขภาพดี - ขับเคลื่อน ODOPS 4+1 ภายใต้ กลไก DHS-PCA แนวทางการพัฒนาระบบปฐมภูมิและสุขภาพ ระดับอำเภอ จังหวัดขอนแก่น ปี 2559

 ปัญหาสำคัญของเขตสุขภาพที่ 7 (Regional base) - NCD : DM/ HT /Stroke/Stemi /CKD - OV & CCA - ปัญหาการขาดสารไอโอดีนในมารดาและ ทารก การกระตุ้นพัฒนาการเด็ก  ปัญหาสำคัญของจังหวัด (Province Base) PA - ภาวะโลหิตจาง (Anemia In pregnancy)  ปัญหาสำคัญตามบริบทของพื้นที่อำเภอ (District Base) ประเด็น ODOPS “4+1”

4. การทำงานทีมหมอครอบครัวที่มีประสิทธิภาพ 5. เน้นการดูแลส่งเสริม ป้องกัน 5 กลุ่มวัย 6. ยกระดับ ศสมช. เป็นสุขศาลา 7. ระบบข้อมูลสารสนเทศปฐมภูมิที่เชื่อมโยง ตั้งแต่โรงพยาบาล แม่ข่ายถึง รพสต. 8. ขับเคลื่อนงานสาธารณสุขภายใต้ประเด็น Performance Agreement: PA 8 เรื่อง แนวทางการพัฒนาระบบปฐมภูมิและสุขภาพ ระดับอำเภอ จังหวัดขอนแก่น ปี 2559

Performance agreement ปี 59 LTC บูรณา การ 5 กลุ่มวัย ใน ตำบล จัดการ ลด อุบัติ เหตุ Servi ce Plan NCD (DM HT CKD) HR Fina nce ระบบ ควบคุ มโรค สวล คบ OV/ CCA การ พัฒน ากฎ หมาย การ พัฒน าการ ผลิต ยา / วัคซี น การ เร่งรั ด ออก ใบ อนุญ าต LTC บูรณาการ 5 กลุ่มวัย ในตำบล จัดการ ลด อุบั ติ เหตุ Serv ice Plan NCD (DM HT CKD ) HR Fina nce ระบบ ควบคุม โรค สวล คบ No Foam OV/ CCA Ane mia in Preg Performance agreement สสจ. ขอนแก่น Performance agreement กสธ. DHS- UCCARE ติดตามผลการดำเนินงาน 3 ด. 6 ด. 9 ด. 12 ด.: Small Success 1010

Performance Agreement: PA ระบบข้อมูลสุขภาพบุคคล การ จัดบริการที่ครอบคลุม การบริหารจัดการ 1. Long Term Care : LTC บูรณาการ 5 กลุ่มวัยใน ตำบลต้นแบบ - ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ - กลุ่มแม่และเด็ก - กลุ่มวัยเรียน - กลุ่มวัยรุ่น - กลุ่มวัยทำงาน - กลุ่มวัยผู้สูงอายุ LCT เป็น Entry point

2. ลดอุบัติเหตุ - Road Safety 3.Service plan - ลดป่วย ลดตาย ลดแออัด - ลดเวลารอคอยในการส่งต่อ 4.NCD - ลด CKD ลด DM HT มาตรการ การป้องกัน การบริหารจัดการ และ ระบบข้อมูล Performance Agreement: PA

5. บริหารจัดการทรัพยากรบุคคล (HR),Finance, พัสดุ โปร่งใส - แผน HRD, HRM - ประสิทธิภาพการบริหารจัดการการเงิน ควบคุม ปัญหาการเงิน ระดับ 7 - ITA: Integrity & Transparency Assessment หน่วยงานคุณธรรม Performance Agreement: PA

6. ระบบส่งเสริมสุขภาพอนามัยสิ่งแวดล้อม คุ้มครองผู้บริโภค ป้องกันควบคุมโรค และ ระบบการดูแลภาวะฉุกเฉิน (PHEM) - การจัดการปัจจัยเสี่ยงด้านอนามัย สิ่งแวดล้อม - การคุมครองผู้บริโภคด้านยาและ ผลิตภัณฑ์สุขภาพ เน้นการเฝ้าระวังในระดับปฐมภูมิ - การควบคุมป้องกันโรคติดต่อที่เป็นปัญหา สำคัญของพื้นที่ - แผนการรองรับภัยพิบัติในระดับจังหวัด อำเภอ - No Foam Performance Agreement: PA

7. มะเร็งท่อน้ำดีและพยาธิใบไม้ตับ - การส่งเสริม ป้องกัน - ดูแลต่อเนื่องในชุมชน - คิดค้นนวตกรรม 8. โลหิตจางในหญิงตั้งครรภ์ - การส่งเสริม ป้องกัน - ติดตามดูแลต่อเนื่องในกลุ่มเสี่ยง Performance Agreement: PA