นายรังสรรค์ ศรีล้วน สรุปผลการดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ 2558 ระบบสุขภาพอำเภอจังหวัดอุบลราชธานี

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
Advertisements

การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ (District Health System : DHS)
การพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ (District Health System)
การรับรองและเชิดชูเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอ DISTRICT HEALTH SYSTEM ACCREDITATION AND APPRECIATION (DHSA)
เส้นทางการพัฒนาเครือข่ายสุขภาพอำเภอ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ District Health System (DHS)
คณะทำงานเครือข่ายสุขภาพระดับอำเภอเขต 12
ผลลัพธ์ปี 2556 สำหรับทีมงานdhs
DHS,FCT 3P + ข้อเสนอ.
คณะที่ ๒ : การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ
จุดเน้นการพัฒนางานสาธารณสุขที่สำคัญ ปีงบประมาณ 2559.
ยุทธศาสตร์ที่ 3 ค่าใช้จ่ายตามแผนงานโครงการและ แผนงานประจำ ยุทธศาสตร์ที่ 3 ค่าใช้จ่ายตามแผนงานโครงการและ แผนงานประจำ รายการยุทธศาสตร์ที่ 3 คิดเป็น ร้อยละ.
บทบาทหน้าที่ของทีม สุขภาพจิตในระบบใหม่ ของกระทรวงสาธารณสุข.
การพัฒนาและจัดระบบบริการฯ หัวข้อ : ระบบบริการปฐมภูมิ
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอหนองโดน
สรุปผลการนิเทศ รอบที่ 1 คณะที่ 3 การบริหารทรัพยากรมนุษย์
การประชุมหัวหน้ากลุ่มบริหารยุทธศาสตร์
โดย ... ทีมนิเทศงานสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดน่าน
การประชุมเชิงปฏิบัติการ
บริบทอำเภอเมือง ในเขตเทศบาลนครเชียงใหม่ ประชากร 131,091คน
ระบบการดูแลระยะยาว (Long Term Care: LTC) เขต 9
งานผู้สูงอายุ ตัวชี้วัดหลัก : ตำบลมีระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุ ผู้พิการและผู้ด้อยโอกาสและการดูแลระยะยาวในชุมชน (Long Term Care) ผ่านเกณฑ์ ตัวชี้วัดรอง.
การดูแลผู้สูงอายุ ระยะยาว (Long Term Care )
แนวทางการดำเนินงาน ประจำปีงบประมาณ พ. ศ
Family Care Team : ทีมหมอครอบครัว
รพ.สต.ติดดาว (5 ดาว 5 ดี) สู่ประชาชนสุขภาพดี
ดร.นพ.ภานุวัฒน์ ปานเกตุ ผู้อำนวยการสำนักโรคไม่ติดต่อ
เป้าหมาย SP สุขภาพจิต # ดูแลตนเองได้ # ครอบครัว/ชุมชน #ลดความรุนแรง
กลุ่มงานเทคโนโลยีสารสนเทศทางการพยาบาล กองการพยาบาลสาธารณสุข
การดูแลผู้สูงอายุพึ่งพิง
กลุ่มงานส่งเสริมสุขภาพ สำนักสาธารณสุข
ตำบลจัดการสุขภาพ.
ระบบดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับ ผู้สูงอายุและบุคคลที่มีภาวะพึ่งพิง ในพื้นที่ตำบลดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (L0ng Term Care)
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายและทิศทางการดำเนินงานควบคุมโรคเข้มแข็งแบบยั่งยืน โดย ทนุบูรณ์ กองจินดา.
คณะกรรมการพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอ เขตสุขภาพที่ 10
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
อำเภอสันกำแพง ดินแดนแห่ง
Service Plan สุขภาพจิต จิตเวชและยาเสพติด
ดร.วีรพจน์ ลือประสิทธิ์สกุล
การขับเคลื่อน ตำบลจัดการสุขภาพแบบบูรณาการ
รูปธรรมการขับเคลื่อน “รพ.สต.ติดดาว” จ.นครราชสีมา
1 ภารกิจด้าน อำนวยการ โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาล ทั่วไป
งานส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุจังหวัดเชียงใหม่ ปีงบประมาณ 2561
การประเมินผลการ ปฏิบัติราชการ
ระบบติดตามงานของผู้ตรวจราชการกรม
Promoter - Supporter -Coordinator-Regulator
การพัฒนาระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวอำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี
ผลการดำเนินงาน สิ่งที่ค้นพบ
บริการ/ทีม: ศูนย์คอมพิวเตอร์ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม
ระบบการดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
สาขาการพัฒนาเครือข่าย สุขภาพอำเภอและบริการปฐมภูมิ เขตสุขภาพที่ 2
นพ.ทวีทรัพย์ ศิรประภาศิริ สำนักงานคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
คบสอ.ตะพานหิน.
แนวทางการตรวจราชการ คณะที่ 1 การพัฒนาศักยภาพตามกลุ่มวัย
NCD W E C A N D O Long term care (LTC) Watbot Health Team.
แผนพัฒนาบริการสุขภาพ พิษณุโลก อุตรดิตถ์ เพชรบูรณ์ สุโขทัย ตาก
คณะพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิ
การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care: LCT ) จังหวัดกำแพงเพชร
งานการดูแลต่อเนื่องที่บ้าน
การประชุมเชิงปฏิบัติการติดตามเยี่ยมเสริมพลัง เพื่อรับฟังการวิเคราะห์แนวทางวางแผนปฏิบัติงาน และนำเสนอผลการดำเนินงานพื้นที่ดำเนินงาน ระบบการดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ
การดูแลผู้สูงอายุระยะยาว
หมวด 1 การนำองค์กร และการจัดการดี
ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและจัดระบบบริการที่มีคุณภาพ ตามมาตรฐาน.
ศูนย์อนามัยที่ 11 นครศรีธรรมราช
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านบัวงาม อ.ดำเนินสะดวก จ.ราชบุรี
แผนปฏิบัติงาน การใช้งานโปรแกรม Thai COC
อำเภอวาปีปทุม จังหวัดมหาสารคาม
ประเด็น ที่ 2 ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมได้
สรุปผลการดำเนินงานการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว (Long Term Care)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

นายรังสรรค์ ศรีล้วน สรุปผลการดำเนินงานระบบสุขภาพอำเภอ 2558 ระบบสุขภาพอำเภอจังหวัดอุบลราชธานี

แนวคิด DHS ระบบการทำงานด้านสุขภาพระดับ อำเภอเชื่อมโยง Service Planและกลุ่ม วัย ตั้งแต่ระดับปฐมภูมิโดยทีมหมอ ครอบครัว ต้องอาศัยร่วมมือกันทุกภาคส่วน บูรณาการทรัพยากรภายใต้บริบทของ พื้นที่และชุมชน กระบวนการชื่นชมและการจัดการความรู้ ประชาชนและชุมชนพึ่งตนเองได้และไม่ ทอดทิ้งกัน ODOP UCCARE

แต่งตั้งคณะกรรการ DHS ระดับจังหวัด ประชุมชี้แจง นโยบาย วิเคราะห์สถานการณ์ จัดการ ฐานข้อมูล ตั้งเป้าหมายวางแผน ยุทธศาสตร์ จัดทำแผนกลยุทธ์ แผนปฎิบัติ การ โดยคณะกรรมการจัดทำคู่มือ เพือถ่ายทอด สู่ผู้ปฏิบัติระดับพื้นที่ DHS COC หัวหน้า ยุทธ์ FCT หัวหน้า สบส. ผชช. ว. กลุ่มงาน ถ่ายทอดนโยบาย แผนงานโครงการ สู่ทีม DHS จัดประชุมชี้แจงทำ แผนงานโครงการและ กิจกรรมปฏิบัติทีม DHS ถ่ายทอดนโยบายและ แนวทางปฏิบัติ สู่ทีม DHS ตำบล ประชุมทีม FCT อบรมฟื้นฟูการดำเนินงาน FCT จัดทีม FCT ระดับอำเภอ ตำบล ชุมชน สื่อสารทีมหมอ ครอบครัว FCT ออกดูแลประชาชน กลุ่มเป้าหมาย อบรม Care Manager Care Giver รายงานผลการดำเนินงาน DHS ผู้รับผิดช อบ FCT ทีมประสานงาน -DHS ปัญญาวุธ / รังสรรค์ -FCT นิรมล. DHS ระดับอำเภอ นายอำเภอ ประธาน ผู้ช่วยฯ เลขา Monitor & Evaluation สุขศึกษา & หมู่บ้าน จัดการสุขภาพ

1. ด้านโครงสร้างของระบบสุขภาพอำเภอ 2558 ระบบสุขภาพอำเภอจังหวัดอุบลราชธานี ตำแหน่งระดับจังหวัดระดับอำเภอ ประธาน DHSผู้เชี่ยวชาญ ว.นายอำเภอ เลขา DHSหัวหน้ากลุ่มงานพัฒนายุทธศาสตร์หัวหน้าฝ่ายยุทธศาสตร์ เลขา FCTหัวหน้ากลุ่มงานสนับสนุนบริการสุขภาพหน.ฝ่ายยุทธ์/สบส. PM. FCT ผู้ช่วยสาธารณสุขอำเภอ หัวหน้าฝ่ายเวชปฏิบัติฯ รพ.

2. ด้านแผนยุทธศาสตร์ในการดำเนินงาน ระบบสุขภาพอำเภอจังหวัดอุบลราชธานี 1.มี Single Plan เน้นตามบริบทของแต่ละอำเภอ 2.ทุกอำเภอมีกระบวนการจัดทำ ODOP อย่างน้อย 3 ข้อ 3.มีการรับฟังความคิดเห็นของภาคีเครือข่าย 4. รับฟังความคิดเห็นประชาชนผ่านกระบวนการ หมู่บ้านจัดการสุขภาพ

3. การประเมินผลการดำเนินงาน ระบบสุขภาพอำเภอจังหวัดอุบลราชธานี 1.ใช้ UCCARE ในการประเมินผลการดำเนินงาน 2.มีการนิเทศติดตามงานโดยทีมระดับจังหวัด ปีละ 2 ครั้ง 3.เขตสุขภาพที่ 10 ดำเนินการพัฒนาทีมวิทยากรครู ข.ใน การเยี่ยมเสริมพลัง 4.จังหวัดจัดประกวดการนำเสนอผลการดำเนินงาน DHS ดีเด่นและกิจกรรมการดำเนินงานหมอครอบครัว

ผลลัพธ์การดำเนินงาน DHS ปี Unity Team 2. Customer Focus 3. Community Participation 4. Appreciation 5. Resources Sharing Human Development 6. Essentail Care

1. การทำงานเป็นทีม Unity Team 1. ค่าเฉลี่ยผ่านขั้นที่ 4 2. โครงสร้างคณะกรรมการ DHS มีองค์ประกอบจากภาคี เครือข่ายทุกภาคส่วน 3. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการดำเนินงาน ทั้งในด้านการ วิเคราะห์และทบทวนปัญหา จัดทำแผนแก้ปัญหา การร่วม ดำเนินงาน การร่วมติดตามประเมินผล ระบบสุขภาพอำเภอจังหวัดอุบลราชธานี

2. การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและมีส่วนได้เสีย 1. ค่าเฉลี่ยผ่านขั้นที่ มีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนทุกกลุ่มวัย 3. มีการนำข้อเสนอแนะมาปรับระบบงาน 4. มีการเรียนรู้ ปรับปรุงระบบการดูแลประชาชน ระบบสุขภาพอำเภอจังหวัดอุบลราชธานี

3.การมีส่วนร่วมของเครือข่ายและชุมชน 1. ผลการดำเนินงานผ่านขั้นที่ ชุมชน ภาคีเครือข่าย มีส่วนร่วมในการคิด วางแผน ในการ ดำเนินงานด้านสุขภาพ 3. มีกระบวนการทบทวน เรียนรู้ ปรับปรุงกระบวนการมีส่วนร่วมให้ เหมาะสมมากขึ้น ตามบริบทของแต่ละอำเภอ ระบบสุขภาพอำเภอจังหวัดอุบลราชธานี

4. การสร้างคุณค่าในการทำงาน 1. ค่าเฉลี่ยผ่านขั้นที่ มีการมอบหมายหน้าที่และภารกิจตามบทบาทให้แก่ เจ้าหน้าที่ทุกระดับ 3. มีกระบวนการรับฟังความพึงพอใจของบุคลากร 4. มีกระบวนการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีและการยกย่องเชิดชู เกียรติบุคลากรที่ดีเด่น ระบบสุขภาพอำเภอจังหวัดอุบลราชธานี

5.การจัดการทรัพยากรและการพัฒนาศักยภาพบุคลากร 1. ค่าเฉลี่ย ทุกเครือข่ายมีการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร ตาม ความต้องการและตามบริบทของพื้นที่ 3. พัฒนาศักยภาพของ หมอครอบครัวและ อสม.นักบริบาล ชุมชน จัดระบบการให้คำปรึกษาระหว่างทีมหมอครอบครัวทุกระดับ 4. มีการจัดการทรัพยากรและงบประมาณทั้งภายในและจาก ภาคีเครือข่าย ระบบสุขภาพอำเภอจังหวัดอุบลราชธานี

6.การดูแลสุขภาพที่จำเป็น (Essential care) 1. ดำเนินงานผ่านขั้นที่ 4 2. มีฐานข้อมูลกลุ่มสำคัญ 3 กลุ่ม 3. มีการจัดระบบการดูแลสุขภาพที่จำเป็นของประชาชนเชิงรุก ได้ครอบคลุมเน้นกลุ่มสำคัญ 3 กลุ่มและกลุ่มวัย 5 กลุ่ม 4. มีภาคประชาชน ชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดการดูแลสุขภาพ ของคนในครอบครัวและชุมชน เช่น การจัดการกายอุปกรณ์เพื่อ ฟื้นฟูสภาพผู้พิการในชุมชน การเยี่ยมให้กำลังใจแก่สมาชิกของ ชมรมผู้สูงอายุ เป็นต้น ระบบสุขภาพอำเภอจังหวัดอุบลราชธานี

ผลการดำเนินงานที่คาดหวัง สร้างความเข้มแข็งให้กับคณะกรรมการทุกภาคส่วน 2. สร้างความเป็นเอกภาพของทีมสุขภาพในแต่ละอำเภอ และ เชื่อมโยงกับเครือข่ายและผู้เชี่ยวชาญในทุกระดับ 3. มีการดำเนินงานตามประเด็นสุขภาพสำคัญ ODOP 3 ประเด็น ตามบริบทพื้นที่ ร่วมกับงานนโยบายสำคัญระดับจังหวัด เขต สุขภาพ และนโยบายกระทรวงสาธารณสุข 4. มีการประชุมและส่งรายงานการประชุม อย่างน้อย 4 ครั้งต่อปี 5. ระบบสุขภาพอำเภอ สามารถแก้ไขปัญหาสุขภาพในอำเภอได้ 6. ผลการประเมิน UCCARE อย่างน้อย 4 คะแนน ( ปี 58= 3.9) ทุกองค์ประกอบ ระบบสุขภาพอำเภอจังหวัดอุบลราชธานี

ขอบคุณครับ/ค่ะ