SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
นิติบุคคลอาคารชุดวันพลัส คอนโด นายน์ทีน 1
Advertisements

นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
การขัดเกลาทางสังคมซ้ำเพื่อสร้างพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อเอชไอวี/เอดส์ ของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน ผู้วิจัย นภัสวรรณ บุญประเสริฐ หลักสูตรปริญญาศิลปศาสตรดุษฎี
กลุ่มบริหารงานทั่วไป
การวิเคราะห์และปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการยศาสตร์
กลุ่ม 6 ผลการประชุมระดมความ คิดเห็น เพื่อกำหนดทิศทางก้าวใหม่ ในการให้บริการ : ฝึกอบรมนักวิทยาศาสตร์ ห้องปฏิบัติการ.
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
หลักสูตร วิทยากรแนว ปฏิบัติ การใช้แรงงานที่ดี (Training of Trainer : TOT) โดย กรวรรณ จงสถาพรพันธ์ ผู้อำนวยการกลุ่มงานพัฒนาระบบ มาตรฐานแรงงาน 1.
กรณีศึกษ าที่ 2 ( แบบ ปย.2) กรณีศึกษา อุทยาน แห่งชาติน้ำตกพลิ้ว.
ศูนย์พัฒนา เด็กเล็ก เทศบาล ตำบลปัว ยินดี ต้อนรับ ยินดี ต้อนรับ.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
สำนักโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข.
แผนการตรวจรับรอง สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่า ทำงาน โดยศูนย์อนามัยที่ 8 อุดรธานี วันเวลาหน่วยงานทีมประเมิน 11 กค.59 เช้า - รพท. นภ. บ่าย สสอ. เมือง ศูนย์อนามัย.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
ประเภทของ CRM. OPERATIONAL CRM เป็น CRM ที่ให้การสนับสนุนแก่กระบวนการธุรกิจ ที่เป็น “FRONT OFFICE” ต่างๆ อาทิ การขาย การตลาด และการ ให้บริการ SALES FORCE.
ระเบียบคณะกรรมการพลังงานปรมาณูเพื่อสันติว่าด้วยวิธีการรักษาความมั่นคงปลอดภัยของวัสดุนิวเคลียร์และสถานประกอบการทางนิวเคลียร์พ.ศ วันที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษา.
๕ เรื่องเด่นในร่างรัฐธรรมนูญ
หลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหาร
ชุมชนปลอดภัย.
บทที่ 3 องค์ประกอบของการสัมมนา
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
“วิธีการใช้งาน PG Program New Version สำหรับ PGD”
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
Presentation การจัดการข้อร้องเรียนในธุรกิจบริการ Customer Complaint Management for Service.
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา 28 สิงหาคม 2561
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
บัตรยิ้ม สร้างเสริมกำลังใจ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
แนวทางการดำเนินงานเพื่อผู้สูงอายุ
ณ ห้องประชุม พธ.ทร.(๒) วันที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙๓๐
วาระที่ 3.4 แนวทางการปฏิบัติงานโครงการตามนโยบาย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่องหลักเกณฑ์ในการพิจารณาความเหมาะสมของพื้นที่ การออกแบบก่อสร้างและการจัดการสถานที่หมักปุ๋ยจากมูลฝอย ประกาศในกรมควบคุมมลพิษ.
ตอนที่ 1ภาพรวมของการบริหารองค์กร (1-5 กำลังคน)
(มีผลใช้บังคับวันที่ ๑ พ.ย. ๒๕๕๗)
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
KMA หมวด 6 การจัดการกระบวนการ.
บทที่ 4 การดูแลให้ได้รับการพักผ่อนและความปลอดภัย การจัดการสิ่งแวดล้อม การทำเตียง อ.กรวรรณ สุวรรณสาร.
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
การเปลี่ยนแปลงการบริหารจัดการน้ำดื่ม คณะแพทยศาสตร์
ความรู้เบื้องต้นระบบระบายอากาศ
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
การกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และการประกาศค่าเป้าหมาย
กลุ่มงานควบคุมโรคติดต่อ
SMS News Distribute Service
กฎกระทรวง ความปลอดภัยทางรังสี พ.ศ.2561
ศูนย์ทันตสาธารณสุขระหว่างประเทศ ตัวชี้วัดกรม ตัวชี้วัดตามภารกิจหน่วยงาน แบบวิเคราะห์การถ่ายทอดตัวชี้วัด ความเชื่อมโยงการถ่ายทอดตัวชี้วัดระดับหน่วยงานลงสู่ระดับกลุ่มงาน.
วัสดุและเทคนิค ทางการออกแบบ อ.สุวิธธ์ สาดสังข์ ( Material and
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 สรุปบทเรียน และแนวทางการนำไปใช้
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
นโยบายของรัฐด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อม สมุดปกขาว BCG in Action การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมของประเทศไทย เพื่อเศรษฐกิจชีวภาพ.
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
การประเมินผลโครงการ บทที่ 9 ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ yalada.
นวัตกรรม ขวดเก็บ Sputum culture
นพ.อภิศักดิ์ วิทยานุกูลลักษณ์ รพ.ธัญญารักษ์เชียงใหม่ กรมการแพทย์
การพัฒนาการทำแผล หอผู้ป่วยพิเศษร่มเย็น 4
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
นวัตกรรม หน่วยไตเทียม.
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
การวิเคราะห์สภาพอากาศที่เอื้ออำนวยต่อการเกิดฝุ่นละอองขนาดเล็กบริเวณ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้วยแบบจำลอง WRF.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY ความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการ จุลชีววิทยา (General Principle of Safety Practices in Microbiology Lab) โดย ณิชานันท์ กุตระแสง (วท.ม. จุลชีววิทยาทางอุตสาหกรรม) นักวิทยาศาสตร์ปฏิบัติการ ศูนย์วิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY เนื้อหา 1. ความรู้ด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ 2. ระดับความปลอดภัยทางชีวภาพ 3. วิธีปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยทางชีวภาพในห้องปฏิบัติการ จุลชีววิทยา 4. ขั้นตอนการขอใช้ห้องปฏิบัติการ/ครุภัณฑ์/วัสดุอุปกรณ์

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY วัตถุประสงค์ เพื่อความปลอดภัยต่อการปฏิบัติงานทั้งต่อผู้ปฏิบัติเอง และบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้อง เพื่อปกป้องสาธารณสุขของชุมชน เพื่อปกป้องสิ่งแวดล้อม

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY 1. ความรู้ด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ ผู้ปฏิบัติ อุปกรณ์ด้าน ความปลอดภัย สิ่งอำนวย ความสะดวก

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY ผู้ปฏิบัติ มีคุณสมบัติเหมาะสำหรับห้องปฏิบัติงาน ผ่านการฝึกอบรม เข้าใจหน้าที่ความรับผิดชอบและงานที่ต้องปฏิบัติ ทราบกฎเกณฑ์และพื้นที่รับผิดชอบ สามารถปฏิบัติงานได้

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY อุปกรณ์ด้าน ความปลอดภัย ตู้กรองอากาศปราศจากเชื้อ (Laminar flow/Safety cabinet) อุปกรณ์ป้องกันส่วนตัว (ใช้เฉพาะในห้องปฏิบัติการเท่านั้น)

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY เชื้อจุลลินทรีย์ หรืองานที่ปฏิบัติ Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY ตู้กรองอากาศปราศจากเชื้อ ป้องกันการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์โดยเฉพาะพวกที่ปะปนในอากาศ (Air borne) เข้าสู่… เชื้อจุลลินทรีย์ หรืองานที่ปฏิบัติ ผู้ปฏิบัติ สิ่งแวดล้อม

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY ชนิดของตู้กรองอากาศปราศจากเชื้อ Class I cabinet อากาศถูกดูดผ่านทางช่องเปิดด้านหน้าและผ่านแผ่นกรอง HEPA ก่อนออกสู่ภายนอก Class II cabinet อากาศจะผ่านแผ่นกรอง HEPA ไปยังพื้นที่ปฏิบัติงานและก่อนออกจากตู้ Class III cabinet อากาศเข้าผ่านแผ่นกรอง HEPA และอากาศเสียผ่านแผ่นกรอง HEPA 2 ชั้น

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY สิ่งอำนวย ความสะดวก อุปกรณ์ฆ่าเชื้อ เช่น autoclave/hot air ระบบปรับอากาศ อ่างล้างมือ อ่างล่างตัว/อ่างล้างตา อุปกรณ์ดับเพลิง อื่นๆ เช่น ตู้ยา/อุปกรณ์ปฐมพยาบาล

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY 2. ระดับความปลอดภัยทางชีวภาพ แบ่งตามความเสี่ยงของประเภทจุลินทรีย์ ระดับที่ 1 Biosafety level 1 (BSL1) กลุ่มเสี่ยงที่ 1 : จุลินทรีย์ซึ่งไม่ก่อให้เกิดโรคในคนที่มีสุขภาพดี “ ความเสี่ยงต่ำต่อบุคคล และชุมชน ” -ไม่ต้องมีการออกแบบลักษณะพิเศษ -มีโต๊ะปฏิบัติการและอ่างล้างมือ -มีตู้ปลอดเชื้อและระบบฆ่าเชื้อด้วยหม้อนึ่งฆ่าเชื้อ -มีการฝึกอบรมเทคนิคทางจุลชีววิทยา

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY ระดับที่ 2 Biosafety level 2 (BSL2) กลุ่มเสี่ยงที่ 2 : จุลินทรีย์ซึ่งสามารถก่อให้เกิดโรคในคน โรคนั้นไม่ร้ายแรง มีวิธีป้องกัน และรักษาได้ “ ความเสี่ยงปานกลางต่อบุคคลความเสี่ยงต่ำต่อชุมชน ” -มีตู้ปลอดเชื้อ class I หรือ II -มีโต๊ะปฏิบัติการและอ่างล้างมือ -มีระบบฆ่าเชื้อด้วยหม้อนึ่งฆ่าเชื้อ -มีการฝึกอบรมเทคนิคทางจุลชีววิทยา -ต้องมีอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลและอุปกรณ์พื้นฐาน เช่น เสื้อกาวน์ ถุงมือ แว่นตา หน้ากากป้องกัน และตู้ปลอดเชื้อ -ควรมีมาตรการเข้มงวดในการอนุญาตบุคคลภายนอกเข้า-ออก

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY ระดับที่ 3 Biosafety level 3 (BSL3) กลุ่มเสี่ยงที่ 3 : เชื้อจุลินทรีย์ก่อให้เกิดโรคร้ายแรงหรือทำให้เสียชีวิตได้ แต่มีวิธีป้องกันและรักษาได้ “ ความเสี่ยงสูงต่อบุคคล ความเสี่ยงต่ำต่อชุมชน ” -มีตู้ปลอดเชื้อ class II หรือ III -มีโต๊ะปฏิบัติการและอ่างล้างมือ -มีระบบฆ่าเชื้อด้วยหม้อนึ่งฆ่าเชื้อ -มีการฝึกอบรมเทคนิคทางจุลชีววิทยา -มีการอาบน้ำ เปลี่ยนเสื้อผ้าก่อนเข้า-ออกจากห้องปฏิบัติการ -ต้องมีอุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลที่เหมาะสมและมิดชิด เช่น สวมรองเท้าหุ้มมิดชิด สวมถุงมือ 2 ชั้น ใส่หน้ากากอนามัยและใช้หมวกคลุมผม รวมทั้งอุปกรณ์อื่นๆที่มีในห้องปฏิบัติการระดับที่ 2 -ควรมีมาตรการเข้มงวดในการอนุญาตบุคคลภายนอกเข้า-ออก -มีการควบคุมและป้องกันสิ่งแวดล้อม

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY ระดับที่ 4 Biosafety level 4 (BSL4) ระดับที่ 4 Biosafety level 4 (BSL4) กลุ่มเสี่ยงที่ 4 : เชื้อจุลินทรีย์ก่อให้เกิดโรคร้ายแรงหรือทำให้เสียชีวิตได้ และไม่มีวิธีป้องกันและรักษา “ ความเสี่ยงสูงทั้งต่อบุคคล และชุมชน ” กลุ่มเสี่ยงที่ 4 : เชื้อจุลินทรีย์ก่อให้เกิดโรคร้ายแรงหรือทำให้เสียชีวิตได้ และไม่มีวิธีป้องกันและรักษา “ ความเสี่ยงสูงทั้งต่อบุคคล และชุมชน ” -จัดให้มีความปลอดภัยระดับสูงสุด จึงมีราคาค่าก่อสร้างและการดูแลรักษาสูงมาก -ถ้าเกิดอุบัติการณ์ของเชื้อที่มีความเสี่ยงระดับ 4 ในประเทศไทยต้องส่งตัวอย่างไปตรวจยังต่างประเทศ

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY อันตรายที่เกิดจากการปฏิบัติงานเกี่ยวกับจุลินทรีย์ สามารถเกิดขึ้นได้ 3 ทาง คือ 1. การฟุ้งกระจาย (aerosol) ซึ่งเกิดจากการบด (homogenization) การปั่นแยก (centrifugation) การสั่นสะเทือนความถี่สูง (ultrasonic vibration) การแตกของเครื่องแก้ว (broken glassware) การดูดปล่อยสารละลาย (pipetting) 2. การกิน (ingestion) ซึ่งเกิดจากการดูดปิเปตโดยใช้ปาก (mouth pipetting) การกินอาหารหรือสูบบุหรี่ในห้องปฏิบัติการ การล้างมือที่ไม่สะอาดหลังการปฏิบัติงาน 3. การแทรกซึมผ่านทางผิวหนัง (skin penetration) ซึ่งเกิดจากการถูกเข็มแทง บาดแผลจากเศษแก้ว จุลินทรีย์รั่วไหล การหยิบตัวอย่างปนเปื้อน การกระเด็นเข้าตา และการถูกสัตว์ทดลองกัด

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY 3. วิธีปฏิบัติเพื่อความปลอดภัยในห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา ข้อควรปฏิบัติในห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา ต้องคำนึงถึงสิ่งต่อไปนี้ เทคนิคทางจุลชีววิทยาที่ดี (Good Microbiology Technique) ใช้เทคนิคปราศจากเชื้อ (aseptic technique) มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ ป้องกันไม่ให้จุลินทรีย์ในห้องปฏิบัติการออกไปปนเปื้อนสิ่งแวดล้อม ป้องกันไม่ให้เกิดการปนเปื้อนของจุลินทรีย์จากสิ่งแวดล้อมภายนอก การควบคุมความปลอดภัย (Containment) การป้องกันไม่ให้จุลินทรีย์จากห้องปฏิบัติการกระจายสู่สิ่งแวดล้อม ไม่ให้เกิดอันตรายกับผู้ที่ปฏิบัติงานในห้องปฏิบัติการ มั่นใจว่ามีความปลอดภัยในการทำงาน โดยป้องกันการติดเชื้อเข้าสู่ร่างกาย

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY ข้อควรปฏิบัติในห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา ผู้ใช้ห้องปฏิบัติการต้องทราบนโยบายและแนวทางปฏิบัติที่เกี่ยวข้อง ทุกคนควรผ่านการอบรมให้ความรู้หรืออ่านคู่มือความปลอดภัยก่อนใช้ห้องปฏิบัติการ สวมเสื้อปฏิบัติการคลุมกันเปื้อนทุกครั้งเมื่อเข้าปฏิบัติการ และถอดทุกครั้งเมื่อเสร็จสิ้นการทำปฏิบัติการ ไม่สวมเสื้อปฏิบัติการออกไปเดินนอกห้องเรียน ห้ามนำวัสดุไม่จำเป็น เช่น กระเป๋าหนังสือ หรืออื่นๆ เข้ามาในบริเวณที่จะทำปฏิบัติการ ห้ามรับประทานอาหาร ดื่มเครื่องดื่ม สูบบุหรี่ ในห้องปฏิบัติการ เพื่อป้องกันตนเองจากการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ในห้องปฏิบัติการ

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY ข้อควรปฏิบัติในห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา ทำความสะอาดโต๊ะปฏิบัติการและเช็ดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ(เอทิลแอลกอฮอล์ 70%) ก่อนและหลังการทำปฏิบัติการ ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่หรือน้ำยาฆ่าเชื้อ ก่อนและหลังปฏิบัติการทุกครั้ง ก่อนใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์ภายในห้องปฏิบัติการ ต้องศึกษาวิธีใช้และอ่านคู่มือการใช้ประกอบ ใช้เทคนิคปลอดเชื้อ (aseptic technique) ทุกครั้งที่ทำปฏิบัติการ เช่น บริเวณปฏิบัติงาน อาหารเลี้ยงเชื้อ เครื่องมือ เครื่องใช้ต่างๆ

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY เทคนิคปลอดเชื้อ (aseptic technique) แยกบริเวณทำงาน บริเวณเตรียมอาหาร บริเวณฆ่าเชื้ออุปกรณ์ออกจากกัน ทิ้งอุปกรณ์ที่ปนเปื้อนในภาชนะที่มีน้ำยาฆ่าเชื้อ สวมถุงมือ หรืออุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลที่เหมาะสมขณะทำปฏิบัติการ หลอดทดลอง จานเพาะเชื้อ ต้องมีจุกหรือฝาครอบตลอดเวลา แม้จะสิ้นสุดการทดลองแล้วใน rack หรือที่ตั้งวางที่มั่นคง

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY เทคนิคปลอดเชื้อ (aseptic technique) ปฏิบัติงานในตู้ปลอดเชื้อเมื่อต้องปฏิบัติงานกับเชื้อโรคที่ก่อให้เกิดอันตราย หากใช้ตู้ปลอดเชื้อต้องเช็ดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อแล้วเปิดหลอด UV ทิ้งไว้ 15 นาทีก่อนการใช้งาน เมื่อเสร็จงานทำความสะอาดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อและเปิดหลอด UV ทิ้งไว้ 15 นาที

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY เทคนิคปลอดเชื้อ (aseptic technique) ควรเขี่ยเชื้อในตู้ปลอดเชื้อหรือบริเวณที่ไม่มีลมพัด ถ้าลมสงบจะดีมาก จุดตะเกียงและทำงานใกล้ตะเกียงเสมอ ทำการฆ่าเชื้อปากภาชนะทุกครั้งที่เปิดฝาและปิดฝา ไม่วางจุกสำลี ฝาครอบ หลอดทดลองหรือจานเพาะเชื้อบนโต๊ะปฏิบัติการ

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY เทคนิคปลอดเชื้อ (aseptic technique) หลอดอาหาร จานเพาะเชื้อที่ปลูกเชื้อแล้ว ก่อนนำไปบ่มจะต้องเขียนบันทึกรายละเอียดที่จำเป็นด้วยปากกาไว้บนอุปกณ์ดังกล่าว หรืออาจเขียนไว้บนกระดาษ label ติดที่หลอดให้ชัดเจน รายละเอียดที่บันทึก เช่น รหัสเชื้อหรือชื่อเชื้อ อาหารที่ใช้ทดสอบ อุณหภูมิที่ใช้ วันเดือนปีที่ปลูกเชื้อ ผู้ดำเนินการทดลอง เป็นต้น นอกจากนี้อาจจะระบุข้อควรระวัง เช่น ห้ามเคลื่อนย้าย ห้ามเปลี่ยนอุณหภูมิ ห้ามเขย่า เป็นต้น เครื่องแก้วที่บรรจุอาหารเลี้ยงเชื้อซึ่งใช้ทดสอบแล้ว ต้องนำไปรวมไว้ในบริเวณรอการฆ่าเชื้อที่จัดให้และนำไปฆ่าเชื้อใน autoclave ที่ 121ºC เวลาอย่างน้อย 15 min ความดัน 15 ปอนด์/ตางรางนิ้ว ก่อนนำไปล้างและอบให้แห้งด้วย hot air oven ทิ้งอุปกรณ์ที่ปนเปื้อนเชื้อทุกชนิดในน้ำยาฆ่าเชื้อ

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY ข้อควรปฏิบัติในห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา กรณีทำงานกับเชื้อจุลินทรีย์อันตรายหรือสารเคมีอันตราย ไม่ควรปฏิบัติงานโดยลำพัง ไม่ทิ้งขยะหรือเศษวัสดุลงบนพื้น หรือในอ่าง ปรับตะเกียงบุนเสนให้ได้เปลวไฟสีน้ำเงินทุกครั้ง และไม่เปิดตะเกียงทิ้งไว้ถ้าไม่จำเป็น ถ้าเชื้อหกเปราะเปื้อนบริเวณปฏิบัติการให้รีบกำจัดเชื้อโดยเทลาดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อหรือเช็ดด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อให้ทั่วบริเวณด้วยความระมัดระวัง หากรุนแรงต้องแจ้งให้อาจารย์ผู้ควบคุมทราบ ห้ามนำเชื้อออกจากห้องปฏิบัติการก่อนได้รับอนุญาต

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY ข้อควรปฏิบัติในห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา ถ้าเชื้อกระเด็นเข้าตา ผิวหนัง เศษแก้วบาด ให้แจ้งอาจารย์ผู้ควบคุมทันทีเพื่อปฐมพยาบาลเบื้องต้นอย่างถูกวิธี ห้ามใช้ปาก ลิ้น อมหรือเลียวัตถุต่างๆ เช่น ปากกา ไม่บรรทัด และห้ามดื่มหรือรับประทานอาหารหรือสิ่งใดๆ ในห้องปฏิบัติการโดยเด็ดขาด และหลีกเลี่ยงการกระทำใดๆ ที่อาจทำให้เกิดการติดเชื้อเข้าสู่ร่างกายได้

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY ข้อควรปฏิบัติในห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา เช็ดทำความสะอาดอุปกรณ์ที่ใช้ในห้องปฏิบัติการอย่างสม่ำเสมอ เช่น autoclave, water bath, hot air oven, incubator, colony counter, microscope เป็นต้น การทิ้งเศษอาหารเลี้ยงเชื้อที่เป็นวุ้น ให้ใส่ในถุงพลาสติกแล้วนำไปทิ้งในถังขยะที่จัดให้ ห้ามทิ้งลงอ่างน้ำโดยเด็ดขาด

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY ข้อควรปฏิบัติในห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา อุปกรณ์เครื่องแก้วที่แตกเสียหาย ควรแยกทิ้งในภาชนะรองรับที่จัดไว้ให้โดยเฉพาะและเมื่อเกิดการเสียหายต้องรีบแจ้งผู้ควบคุมทราบเพื่อพิจารณาความเสียหายและดำเนินการหากต้องมีการชดใช้ค่าเสียหาย ตรวจสอบอุปกรณ์ เครื่องมือว่าอยู่ในสภาพเรียบร้อยสมบูรณ์หรือไม่ ก่อนจะคืนอุปกรณ์ ล้างมือให้สะอาดทุกครั้งหลังทำงานกับเชื้อจุลินทรีย์ และก่อนออกจากห้องปฏิบัติการ ลงชื่อในบันทึกการใช้ห้อง การใช้เครื่องมือ การเบิกอาหารเลี้ยงเชื้อหรือสารเคมีทุกครั้งเมื่อใช้งานแล้วเสร็จ

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY อุบัติเหตุและการปฐมพยาบาล จัดสถานที่ทำงานให้เป็นระเบียบ ปลอดภัยในการทำงาน ไม่วางของเกะกะ จัดให้มีที่ว่างเพียงพอสำหรับการทำงาน มีตู้ยาปฐมพยาบาล ต้องแจ้งให้อาจารย์หรือผู้ดูแลทราบหากมีอุบัติเหตุ ป้องกันไม่ให้เกิดอุบัติเหตุอีก ควรสังเกตจุดติดตั้งตู้ยาสำหรับปฐมพยาบาล ถังดับเพลิง และอุปกรณ์ดับเพลิง อุปกรณ์ป้องกันอันตรายต่างๆ ควรมีอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY 4. ขั้นตอนการขอใช้ห้องปฏิบัติการ/ครุภัณฑ์/วัสดุอุปกรณ์ http://scc.snru.ac.th

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY ประสานนักวิทยาศาสตร์เพื่อสอบถามปฏิบัติการที่ต้องการให้สอน ตารางการใช้ห้อง/เครื่องมือ/ครุภัณฑ์ กรอกแบบฟอร์มขอความอนุเคราะห์ใช้ห้องปฏิบัติการ/ครุภัณฑ์/วัสดุอุปกรณ์ ส่งแบบฟอร์มที่เจ้าหน้าที่ธุรการ สำนักงานศูนย์วิทยาศาสตร์ ติดต่อนักวิทยาศาสตร์เพื่อทำปฏิบัติการ ใช้เครื่องมือ ครุภัณฑ์ และหรือห้องตามปฏิบัติการ ตามวันและเวลาที่ขอใช้โดยมีนักวิทยาศาสตร์ดูแล ลงบันทึกการใช้งาน เก็บเครื่องมือให้เรียบร้อย และทำความสะอาดบริเวณที่ใช้งาน หลังจากทำปฏิบัติการแล้วเสร็จ แจ้งผู้ดูแลตรวจสอบความเรียบร้อยก่อนออกจากห้องปฏิบัติการ

SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Science Center SAKON NAKHON RAJABHAT UNIVERSITY Thank you for attention