การบริหารจัดการ ติดตาม และประเมินผล. กลไกการขับเคลื่อนการดําเนินการ ดําเนินการโดยผ่านกลไกของคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารแห่งชาติ ( กทสช.)

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
เชื่อมโยงนโยบายแต่ละระดับ
Advertisements

นักวิชาการสาธารณสุข ๙ ชช ศูนย์อนามัยที่ ๑๐ ชึชียงใหม่
แนวทางการพัฒนาระบบ สารสนเทศ นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ แห่งประเทศไทย 2010 ระยะ ที่ 1 ระยะ ที่ 2 ระยะ ที่ 3 ระยะ ที่ 4 ทุกหน่วยงานมี WEBSITE การโต้ตอบทาง.
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
ยุทธศาสตร์ การจัดสรร งบประมาณ ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
Draft Application Report
อาจารย์อิทธิพล ปรีติประสงค์
เกณฑ์การประเมินผลตัวชี้วัด มิติการประเมินประสิทธิผล
แผนการดำเนินงานปี 2558 กลุ่มโรคติดต่อระหว่างสัตว์และคน
ยุทธศาสตร์ลดปัจจัยเสี่ยง ในเด็กวัยเรียนและวัยรุ่น ปี 2551
ระบบคุ้มครองผู้บริโภค ด้านสุขภาพ (ปรับปรุง )
การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
การจัดทำแผนปฏิบัติการ สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ กันยายน 2557.
สำนักประสานและติดตามนโยบาย สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
นโยบายด้านโรคติดต่อ ศ. คลินิกเกียรติคุณ นพ. ปิยะสกล สกลสัตยาทร รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข.
โครงการพัฒนาการตรวจเงินแผ่นดิน อิเล็กทรอนิกส์แบบบูรณาการ.
รศ. ดร. สิทธิชัย แก้วเกื้อกูล คณบดี รศ. สุวรรณา สมบุญสุโข รองคณบดีฝ่ายบริหาร ผศ. ดร. คมกฤตย์ ชมสุวรรณ รองคณบดีฝ่ายวางแผน และพัฒนา รศ. ดร. กุลธิดา ธรรมวิภัชน์
การบริหารกองทุนหลักประกัน สุขภาพ ในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ภายใต้ประกาศการดำเนินงาน กองทุนฯปี 2557.
1 สบช.. 2 เอกสารข้อมูล สถานการณ์ / ผลการ ดำเนินงานสบช. - สถานการณ์ - ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับ การดำเนินงานสบช. - GAP ( อดีต / ปัจจุบัน / อนาคต ) ความคิดเห็นผู้บริหาร.
แนวทางการบริหารจัดการเขต พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษโดย สหกรณ์ นายเชิดชัย พรหมแก้ว ผู้อำนวยการกองพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร กรมส่งเสริมสหกรณ์ วันที่
ผลการดำเนินงาน ปีงบ ๒๕๕๘ ( ร่าง ) แผนปฏิบัติการฯ ปี งบ ๒๕๕๙ กลุ่มงานบริหารทั่วไป สำนักงานสาธารณสุข จังหวัดตราด.
แผนแม่บทระบบสถิติประเทศไทย ฝ่ายวิชาการและวางแผนสำนักงานสถิติจังหวัดระยอง 1.
ทิศทางการนำระบบบริหาร จัดการคลังข้อสอบ และการทดสอบมาตรฐานฝีมือ แรงงาน ด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์สู่หน่วย ปฏิบัติ โดย วรรณี โกมลกวิน ผู้อำนวยการกลุ่มงานกำหนด.
โดย นายแพทย์ณัฐพร วงษ์ศุทธิภากร รองอธิบดีกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข “เรียนรู้ สิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์” นโยบายการดำเนินงานด้านอนามัยสิ่งแวดล้อม กรมอนามัย.
โดย ปณิต มีแสง. ส่วนที่ 1 ลักษณะสำคัญขององค์กร ส่วนที่ 2 เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการ ภาครัฐ - การนำองค์กร - การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ - การให้ความสำคัญกับผู้รับบริหารและ.
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
แผนยุทธศาสตร์การคุ้มครองผู้บริโภคแห่งชาติ ฉบับที่ 1 (พ.ศ )
คณะกรรมการปรับปรุงยุทธศาสตร์ฯ
กลุ่มนโยบายและแผนงาน ฝ่ายแผนและพัฒนา
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การจัดหาพัสดุในส่วนของรายจ่ายลงทุนในภาพรวม ข้อมูล ณ 30 พฤศจิกายน 2560
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
สำนักงานรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์กับ Digital Skill Training Roadmap
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
งาน Road Map ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรปี 2560
ร่าง ยุทธศาสตร์ สป.พม. พ.ศ
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
โดย ศรีปัญญา ม่วงเพ็ชร พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
ระบบบริหารจัดการงานวิจัยของหน่วยงาน Department Research Management System DRMS โดยทีมพัฒนาระบบ DRMS สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
การบริหารจัดการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน
การบริหารงานประชาสัมพันธ์ของจังหวัด : การประชาสัมพันธ์และการจัดการสื่อ
เวลา น. เป็นต้นไป ณ ห้องประชุมสำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ชั้น 9
เพื่อการขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์ทศวรรษ
นโยบายการขับเคลื่อน การสร้างเสริมความรอบรู้ด้านสุขภาพของคนไทย ยุค 4.0
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
การประเมินคุณภาพการศึกษา สำนักงานอธิการบดี
ข้อเสนอต่อการพัฒนา ระบบการสร้างเสริมสุขภาพ ของประเทศไทย
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
Model ผลที่คาดหวัง วัตถุประสงค์ ตัวชี้วัดหลัก
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
กิจกรรมหลัก ภาคกลาง 12กันยายน 2560
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
อัตราส่วนการตายมารดาไทย
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
กรมอาเซียน กระทรวงการต่างประเทศ
แผนยุทธศาสตร์เครือข่ายสุขภาพอำเภอเทพา ปี 2562
การบริหารจัดการอาสาสมัครสภากาชาดไทยแบบบูรณาการ
Supply Chain Management
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การบริหารจัดการ ติดตาม และประเมินผล

กลไกการขับเคลื่อนการดําเนินการ ดําเนินการโดยผ่านกลไกของคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารแห่งชาติ ( กทสช.) ที่ทําหน้าที่เป็นคณะกรรมการบริหาร นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศ ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศสารสนเทศระดับสูง (Chief Information Officer: CIO) ประจําหน่วยงานของรัฐ

กลไกการขับเคลื่อนการดําเนินการ ทําหน้าที่บริหารและพัฒนางานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสารตามภารกิจของหน่วยงาน สํานักงานบริหารโครงการ (Program Management Office: PMO) เพื่อ สนับสนุนการบริหารจัดการ ในการ นําแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ( ฉบับที่ ๓ ) ปฏิบัติ อย่างเป็นรูปธรรม

การบริหารจัดการ ติดตาม และประเมินผล จะดําเนินการโดยหน่วยประสานงานกลางด้านนโยบาย และแผน ICT ๑ ) สร้างความตระหนัก ให้กับภาครัฐ ภาคธุรกิจ และภาคส่วนอื่นๆ ที่ เกี่ยวข้องในการนําแผนไป ปฏิบัติ (Awareness Building)

การบริหารจัดการ ติดตาม และประเมินผล จะดําเนินการโดยหน่วยประสานงานกลางด้าน นโยบายและแผน ICT ๒ ) ทําการทบทวน ศึกษา และปรับปรุง ดัชนีชี้วัด ทั้งในภาพรวม และใน แต่ละประเด็นยุทธศาสตร์เพื่อให้สามารถนําไปปฏิบัติได้ในแง่ของ ผลสัมฤทธิ์

การบริหารจัดการ ติดตาม และประเมินผล จะดําเนินการโดยหน่วยประสานงานกลางด้าน นโยบายและแผน ICT ๓ ) อบรม สัมมนา เพื่อให้ความรู้ ในรายละเอียดของยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ มาตรการ และโครงการที่เกี่ยวข้องให้กับหน่วยงานเจ้าภาพ ถึง ความสําคัญ

การบริหารจัดการ ติดตาม และประเมินผล จะดําเนินการโดยหน่วยประสานงานกลางด้าน นโยบายและแผน IC ๔ ) กําหนดโครงการและลําดับความสําคัญของโครงการ รวมทั้ง จัดทํา แผนปฏิบัติการสําหรับ โครงการที่จะส่งผลสัมฤทธิ์ของ การนําแผนแม่บท ไปปฏิบัติ

การบริหารจัดการ ติดตาม และประเมินผล จะดําเนินการโดยหน่วยประสานงานกลางด้าน นโยบายและแผน IC ๕ ) ให้คําแนะนําปรึกษาในเรื่องการจัดสรรทรัพยากรและงบประมาณใน การดําเนินการของ หน่วยงานเจ้าภาพ รวมทั้งเรื่องการบริหารความเสี่ยงของโครงการ

การบริหารจัดการ ติดตาม และประเมินผล จะดําเนินการโดยหน่วยประสานงานกลางด้าน นโยบายและแผน IC ๖ ) ติดตามและประเมินผลการนําแผนแม่บทไปปฏิบัติในรายปี ในระยะ ครึ่งทาง และเมื่อสิ้นสุด แผนรวมทั้งรูปแบบที่เหมาะสมกับรอบระยะเวลาของการติดตามและ ประเมินผล ตามมาตรฐานสากล

แผนที่ นําทาง (Roadmap) เพื่อมุ่งสู่ Smart Thailand 2020

ปีที่ ๑ - ๒ พ. ศ. ๒๕๕๗ - ๒๕๕๘ : การวางรากฐาน ICT สู่ความฉลาด (Smart Foundation) ประชาชนได้รับการยกระดับให้รู้เท่าทัน ICT (Enhanced ICT Literate People) ชุมชนและท้องถิ่นได้รับการยกระดับด้านอิเล็กทรอนิกส์ (Enhanced e- Rural Community) บริการอิ เล็กทรอนิกส์ เข้าถึงประชาชน (e-Service Reach-out to the People) ความร่วมมือระหว่างรัฐและเอกชนได้รั บการยกระดับ (Enhanced Public- Private Collaboration)

ปีที่ ๓ พ. ศ. ๒๕๕๙ : การร่วมดําเนินธุรกรรมใน กลุ่ม AEC อย่างฉลาด (Smart AEC collaboration) การเชื่อมโยงประชาชนและชุมชนไปสู่กลุ่มภูมิภาค AEC (Joined-up People to AEC) การสร้ างความพร้อมในการเข้าสู่ AEC (Joined-p Connection to AEC) การพัฒนาความร่วมมือในบริการอิเล็กทรอนิกส์มุ่งสู่ระดับ AEC (Joined-up e-Service to AEC) การขยายความร่วมมือในการพัฒนาธุรกรรมด้าน e-Business กับพันธมิตร ในระดับ AEC (Joined-up e-Business Transaction to AEC)

ปีที่ ๔ พ. ศ. ๒๕๖๐ การพัฒนาสู่ชุมชนฉลาด (Smart Community) การสร้างเครือข่ายร่วมมือกันระหว่างชุมชนในภูมิภาคภายในและสากล (Collaborative Community) การเชื่อมโยงโครงข่ายลงสู่ชุมชนระดับภูมิภาคทั้งภายในและภายนอก (Connected Community Networks) การเชื่อมโยงชุมชนบริการอิเล็กทรอนิกส์ในระดับในภูมิภาค (Connected e-Service Community) การเชื่อมโยงชุมชน e-Business โดยทั่วถึง (Connected e-Business Community)

ปีที่ ๕ พ. ศ. ๒๕๖๑ การก้าวสู่บริการอิเล็กทรอนิกส์ อย่างฉลาดในระดับภูมิภาคสากล (Smart Global Services) - การเชื่อมโยงไปสู่ระดับสากล (Mobilized People) - การเชื่อมโยงโครงข่ายไปสู่ระดับสากล (Global Connectivity) - การพัฒนาบริการอิเล็กทรอนิกส์เชื่อมโยงถึงกันในระดับสากล (Seamless e-Service Community)

ปีที่ ๖ - ๗ พ. ศ. ๒๕๖๒ - ๒๕๖๓ การก้าวสู่สังคม อุดมปัญญา (Smart Thailand) ประชาชนพร้อมที่จะมีส่วนร่วมในการพัฒนาด้าน ICT ของประเทศ (Participatory People) การพัฒนาไปสู่โครงสร้างพื้นฐานที่มี ความคุ้มค่า (Optimal Infrastructure) การพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ที่ฉลาด (Smart Government) การพัฒนาก้าวสู่ยุคธุรกิจสดใส (Vibrant Business)