การจัดกิจกรรมตามแนวทาง การพัฒนาและประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. แจกโรงเรียนทั่วประเทศ ปี ๒๕๕๔ เป็นแนวทางพัฒนาและประเมินความสามารถ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
ผู้วิจัย นางนันทา สุพจน์เฉลิมขวัญ
Advertisements

การสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาห้องสมุดกับการรู้สารสนเทศของ นักศึกษาระดับชั้น ปวส.1 ด้วยการจัดการเรียนรู้โดยใช้สื่อประสม นางสาวพัชรี นาคทอง วิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครู
การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
องค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
แนวทางการสอน เพื่อพัฒนาทักษะเด็กตามรูปแบบการสอน
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มภาษาไทย ภาษาไทยเป็นสมบัติของชาติ ที่ควรค่าแก่การเรียนรู้ ความสำคัญ.
มาตรฐานครูสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย
การพัฒนาโรงเรียนสิ่งแวดล้อมศึกษา
ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต ๒.
โครงการ “ พัฒนาคุณภาพ การจัดการศึกษา เรียนร่วมและเรียนรวม”
ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน.
“ การพัฒนาระบบการวัดและ ประเมินผล เพื่อ พัฒนาคุณภาพการศึกษา ” การอบรมเชิงปฏิบัติการ.
การดำเนินงานตามโครงการ “ หลักสูตรคู่ขนาน ” โรงเรียนกู่กาสิงห์ประชา สรรค์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต 27 อัต ลักษ ณ์ เอกลั กษณ์ มีความรู้คู่
8 สิงหาคม ศิลปะยืนยาว... ชีวิต สั้น _files.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. ก ร ะ ท ร ว ง ศึ ก ษ า ธิ ก า ร.
หลักสูตรการอบรมวิทยากรตัวคูณ ระดับจังหวัด ครั้งที่ 1 ภาคกลางตอนบน ( วันที่สอง ) ณ โรงแรมริชมอนด์ จังหวัดนนทบุรี ระหว่างวันที่ 9 – 11 มีนาคม 2558.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐาน และตัวชี้วัด การพัฒนาครูและศึกษานิเทศก์ด้านการสร้าง เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ตามแนวการทดสอบนานาชาติ (PISA)
การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club. การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน.
โรงเรียน มาตรฐานสากล หมายถึง โรงเรียนที่พัฒนา หลักสูตรและจัดการเรียน การสอนอย่างมีคุณภาพ เทียบเคียงมาตรฐานสากล รวมทั้งมีการบริหารจัดการ ด้วยระบบคุณภาพ.
ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1. การจัดกิจกรรมแนะแนวในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1 สมรรถนะสำคัญ 5 ประการ คุณลักษณะอันพึง.
นำไปจัดการเรียนรู้ใน ชั้นเรียน ความรู้ความเข้าใจ.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
คุณสมบัติ คุณสมบัติ (ต่อ) การพิจารณาผ่านการประเมิน.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
เรื่องแจ้งในการประชุม ผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มนิเทศติดตาม และประเมินผล การจัดการศึกษา สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา ประถมศึกษา ลพบุรีเขต 1 สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษา.
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
การบริหารหลักสูตร.
เครื่องมือการตรวจติดตามการประเมินผลการจัดการศึกษา
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
นำเสนอวิธีปฏิบัติที่ดี ด้านกิจกรรมพัฒนานักศึกษา
ดร. วัฒนาพร ระงับทุกข์ รักษาการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานการศึกษา
การบริหารจัดการเวลาเรียน ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
โครงสร้างหลักสูตร “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”.
เทคนิคการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
ชื่อผู้วิจัย นางสาวศุวรีย์ จำปามูล
การติดตามเกี่ยวกับการดำเนินการขับเคลื่อน สะเต็มศึกษาในโรงเรียนเอกชน
กิจกรรมบทปฏิบัติการวิชาวิทยาศาสตร์ (Lab) กศน.
Instruction design แผนจัดการเรียนรู้ Active Learning
ประกาศ ศธ. การบริหารจัดการเวลาเรียนภาษาอังกฤษ ชั้น ป. 1-3 ลว. 31 ต. ค
ขั้นตอนในการติดตามผลการปฏิบัติงานโครงการ
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
จัดทำโดย นางสาวอริษา ตู้ประทุม ช้นปีที่3
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
เรียนอย่างไรให้ประสบความสำเร็จ
งานแนะแนว กับระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน
ประวัติวิทยากร ปริญญาเอก ศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต ดร.วัชรศักดิ์ สงค์ปาน
การวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดการปฏิบัติงานของ ผอ.รร.
แนวข้อสอบกลางภาคเรียนที่ ๑ / ๒๕๖๑
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การสอนควบคู่กับการเรียน
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
โครงการโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล (1 ตำบล 1 โรงเรียนคุณภาพ)
การให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา มีวิทยฐานะและเลื่อนวิทยฐานะ
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
ISC1102 พื้นฐานทางระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
รายงานผล O-NET ปีการศึกษา 2556
คณะแพทยศาสตร์ ด้วยความยินดียิ่ง มหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอต้อนรับทุกท่าน
เอกสาร/หลักฐาน/ ร่องรอย เพื่อ จัดเก็บใน 13 แฟ้ม
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การจัดกิจกรรมตามแนวทาง การพัฒนาและประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. แจกโรงเรียนทั่วประเทศ ปี ๒๕๕๔ เป็นแนวทางพัฒนาและประเมินความสามารถ ในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนในรูปแบบ ต่าง ๆ อาจเลือกรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง

ความสำคัญ หลักสูตรแกนกลาง ๒๕๕๑ กำหนดเป็นเกณฑ์ตัดสินเลื่อนชั้นและจบการศึกษา แต่ละระดับ เพราะการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน มีความสำคัญต่อการเรียนรู้และสามารถสื่อสาร อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องปลูกฝัง โดยบูรณาการ พร้อม ๆ กับการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ หรือโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ

การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และ เขียน เป็นเงื่อนไขสำคัญประการหนึ่งที่ นักเรียนทุกคนจะต้องได้รับการประเมิน ผ่านเกณฑ์ที่โรงเรียนกำหนด จึงจะได้รับ การตัดสินให้ผ่านการศึกษาแต่ละระดับชั้น เป็นการประเมินที่จะช่วยให้นักเรียนทุกคน ได้รับการฝึกฝน ให้มีความสามารถในการ อ่าน คิดวิเคราะห์และการเขียน ซึ่งเป็น พื้นฐานของการเรียนรู้ทุก ๆ ด้าน

รูปแบบการประเมิน รูปแบบ ที่ ๑ การบูรณาการตัวชี้วัดของการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ร่วมกับการประเมินผลกลุ่มสาระการเรียนรู้ ๘ กลุ่มสาระ รูปแบบ ที่ ๒ การใช้เครื่องมือหรือแบบทดสอบ ประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน

รูปแบบการประเมิน รูปแบบ ที่ ๓ กำหนดโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมความสามารถ ในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ให้ผู้เรียนปฏิบัติโดยเฉพาะ รูปแบบ ที่ ๔ การบูรณาการตัวชี้วัดของการประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ร่วมกับการประเมินกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน