โรงเรียน มาตรฐานสากล หมายถึง โรงเรียนที่พัฒนา หลักสูตรและจัดการเรียน การสอนอย่างมีคุณภาพ เทียบเคียงมาตรฐานสากล รวมทั้งมีการบริหารจัดการ ด้วยระบบคุณภาพ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การประชุมสัมมนาเครือข่ายการจัดการความรู้
Advertisements

การศึกษาผลการเรียนรู้ด้านการพิมพ์ไทยด้วย คอมพิวเตอร์ ของนักเรียนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปี ที่ 1 แผนกบริหารธุรกิจ วิทยาลัยเทคโนโลยีชลบุรี The education.
องค์ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้แบบย้อนกลับ (Backward Design)
การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษ ของ นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปีที่ 2 โดยใช้สถานการณ์จำลอง กิติพร โกมลารชุน.
1. 2 วาระที่ 1 เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ วาระที่ 2 รับรองรายงานการประชุมครั้งที่ 2/2552 เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2552 วาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ.
- 2 - แผนภูมิแสดงความเชื่อมโยงยุทธศาสตร์การจัดสรรงบประมาณ ผลผลิต และงบประมาณปี พ.ศ.2555 กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ตามระบบการจัดทำงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานตามยุทธศาสตร์
มาตรฐานครูสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย
บทที่ 1 หลักการทำโครงงาน
สำนักงานเลขานุการ สำนักวิทยบริการ. ยุทธศาสตร์ที่ 1 โครงการจัดหาวัสดุ ตำรา วารสาร ฐานข้อมูล เพื่อ ให้บริการในสำนักวิทยบริการ การพัฒนานำระบบ RFID มาใช้ในการจัดชั้น.
ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภารกิจ ตามจุดเน้นการพัฒนาคุณภาพการศึกษา สำนักทดสอบทางการศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน.
“ การพัฒนาระบบการวัดและ ประเมินผล เพื่อ พัฒนาคุณภาพการศึกษา ” การอบรมเชิงปฏิบัติการ.
โรงเรียนในฝัน : พลิกระบบการศึกษา แก้ปัญหาความยากจน สร้าง โอกาสให้เด็กไทย เบญจลักษณ์ น้ำฟ้า ผชช พิเศษ สพฐ. 17 กุมภาพันธ์ 59.
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
8 สิงหาคม ศิลปะยืนยาว... ชีวิต สั้น _files.
จัดทำโดย นางสาวพิจิตรา ปันเต เลขที่ 18 นางสาวปิยธิดา อุตมา เลขที่ 19 ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้ คู่มือ ทวนสอบผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนรู้
LOGO โรงเรียนมาตรฐานสากล ดร. ชินภัทร ภูมิรัตน เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
หน่วยที่ 3 การวิเคราะห์มาตรฐาน และตัวชี้วัด การพัฒนาครูและศึกษานิเทศก์ด้านการสร้าง เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ตามแนวการทดสอบนานาชาติ (PISA)
การจัดกิจกรรม ชุมนุม Science Club. การจัดกิจกรรมชุมนุมสนองตอบ วัตถุประสงค์ของการจัดการศึกษา ตามมาตรา ๒๔ ได้อย่างครบถ้วน.
การจัดกิจกรรมตามแนวทาง การพัฒนาและประเมิน การอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สพฐ. แจกโรงเรียนทั่วประเทศ ปี ๒๕๕๔ เป็นแนวทางพัฒนาและประเมินความสามารถ.
ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1. การจัดกิจกรรมแนะแนวในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 1 สมรรถนะสำคัญ 5 ประการ คุณลักษณะอันพึง.
นำไปจัดการเรียนรู้ใน ชั้นเรียน ความรู้ความเข้าใจ.
ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ โรงเรียนอนุบาลนาแกผดุงราชกิจเจริญ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา นครพนม เขต ๑ ตามนโยบายกระทรวงศึกษาธิการ.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
โดย... นายวินิจ รักชาติ อดีตผู้อำนวยการ สำนักงาน ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม จังหวัด กาญจนบุรี
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
การบริหารหลักสูตร.
เป้าหมายและตัวชี้วัดด้านผู้เรียน โรงเรียนมาตรฐานสากล
การเรียนรู้เชิงรุก Active Learning ดร.ไพจิตร สดวกการ.
ดร. วัฒนาพร ระงับทุกข์ รักษาการที่ปรึกษาด้านมาตรฐานการศึกษา
การบริหารจัดการเวลาเรียน ของสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
การจัดสรรงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ 2561
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพ ครูและนักเรียน
โครงสร้างหลักสูตร “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”.
การติดตามเกี่ยวกับการดำเนินการขับเคลื่อน สะเต็มศึกษาในโรงเรียนเอกชน
สรุปความสอดคล้องระหว่างมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน กลยุทธ์โรงเรียน
ประกาศ ศธ. การบริหารจัดการเวลาเรียนภาษาอังกฤษ ชั้น ป. 1-3 ลว. 31 ต. ค
ตามแนวทางของการ บริหารงานบุคลากร โรงเรียนราษฎร์วิทยา(ตี่มิ้ง)
ภาคเรียนที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ ผู้สอน : คุณครูภาคภูมิ คล้ายทอง
ผลงานทางวิชาการ ความหมาย ลักษณะ ประเภท
แนวคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศ
แนวทางจัดทำเอกสารประกอบการสอน เพิ่มเติม อีกรูปแบบ
จัดทำโดย นางสาวอริษา ตู้ประทุม ช้นปีที่3
แผนปฏิบัติการ กลุ่มเครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาที่ 8
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
รองศาสตราจารย์สนิท สัตโยภาส
การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการศึกษาด้านการสอบด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer-based Assessment) การรู้เรื่องการอ่าน ด้านคณิตศาสตร์และด้านวิทยาศาสตร์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
แผนงาน การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ
YRC LANNA LOCAL WISHDOM
นางนพรัตน์ สุวรรณโณ วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยาสงขลา
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
KUSUMA TEPPHARAK (Ph.D.)
ตัวชี้วัดการปฏิบัติงานของ ผอ.รร.
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
การวัดและประเมินผลด้านพุทธิพิสัย (ตามลำดับขั้นการเรียนรู้ของ Benjamin Bloom) รศ. บรรพต พรประเสริฐ.
การสอนควบคู่กับการเรียน
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
“ทิศทางการขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน” ของสำนักงานคณะกรรมการ
แอดมิชชั่น กลาง.
ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10
การวิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัด
รายงานผล O-NET ปีการศึกษา 2556
ใบสำเนางานนำเสนอ:

โรงเรียน มาตรฐานสากล หมายถึง โรงเรียนที่พัฒนา หลักสูตรและจัดการเรียน การสอนอย่างมีคุณภาพ เทียบเคียงมาตรฐานสากล รวมทั้งมีการบริหารจัดการ ด้วยระบบคุณภาพ 24/09/591 โรงเรียนมาตรฐานสากลกับการสอน IS

24/09/59 โรงเรียนมาตรฐานสากลกับการสอน IS 2 โรงเรียน มาตรฐานสากล World Class Standard School เป็นเลิศวิชาการ สื่อสาร 2 ภาษา ล้ำหน้าทางความคิด ผลิตงาน อย่างสร้างสรรค์ ร่วมกันรับผิดชอบ ต่อสังคมโลก ผู้เรียนมีศักยภาพเป็นพลโลก world Citizen การจัดการเรียนการสอน เทียบเคียงมาตรฐานสากล World Class Standard การบริหารจัดการ ด้วยระบบคุณภาพ Quality System Management

24/09/593 โรงเรียนมาตรฐานสากลกับการสอน IS

24/09/594 โรงเรียนมาตรฐานสากลกับการสอน IS

จุดมุ่งหมายและทิศทาง ของโรงเรียน มาตรฐานสากล  การพัฒนาผู้เรียนให้มี ศักยภาพเป็นพลโลก  ยกระดับการจัดการเรียน การสอน เทียบเคียงมาตรฐานสากล  ยกระดับบริหารจัดการด้วย ระบบคุณภาพ 24/09/595 โรงเรียนมาตรฐานสากลกับการสอน IS

ศักยภาพของ ผู้เรียนที่สำคัญ  ความรู้พื้นฐานในยุคดิจิทัล  ความสามารถคิดประดิษฐ์ อย่างสร้างสรรค์  ทักษะการสื่อสารอย่างมี ประสิทธิผล  ความสามารถในการใช้ ทักษะชีวิต  ความสามารถในการใช้ เทคโนโลยี 24/09/596 โรงเรียนมาตรฐานสากลกับการสอน IS

กระบวนการพัฒนาผู้เรียนสู่ คุณภาพที่คาดหวัง 1. ตั้งคำถาม/สมมุติฐาน (Hypothesis Formulation) 2. สืบค้นความรู้ (Searching for Information ) 4. สื่อสารและนำเสนอ (Effective Communication) 5. บริการสังคมและจิตสาธารณะ (Public Service) 3. การสรุปองค์ความรู้ (Knowledge Formation) 24/09/59 โรงเรียนมาตรฐานสากลกับการสอน IS

24/09/598 โรงเรียนมาตรฐานสากลกับการสอน IS

IS 1 IS 3 IS 2 ( Research and Knowledge Formation ) ( Communication and Presentation) ( Global Education and Social Service ) การศึกษาค้นคว้าและสร้าง องค์ความรู้ การสื่อสารและการ นำเสนอ การนำความรู้ไปใช้ บริการสังคม 24/09/599 โรงเรียนมาตรฐานสากลกับการสอน IS

กระบวนการพัฒนาผู้เรียนสู่ คุณภาพที่คาดหวัง 1. ตั้งคำถาม/สมมุติฐาน (Hypothesis Formulation) 2. สืบค้นความรู้ (Searching for Information ) 4. สื่อสารและนำเสนอ (Effective Communication) 5. บริการสังคมและจิตสาธารณะ (Public Service) 3. การสรุปองค์ความรู้ (Knowledge Formation) IS 1 IS 2 IS 3 24/09/59 โรงเรียนมาตรฐานสากลกับการสอน IS

ม. 1 ม. 2 ม. 3 ม. 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ( รายวิชาพื้นฐาน ) ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา สุขศึกษาและพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพฯ ภาษาต่างประเทศ รายวิชาเพิ่มเติม 5 นก. 40 นก. 1. การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (Research and Knowledge Formation) (IS1) ( หน่วยกิต ) จัดสอนในชั้นปีใดปีหนึ่ง จัดสอนในชั้นปีใดปีหนึ่ง หรือ จัดสอนทั้ง 2 รายวิชาต่อเนื่องกัน ภายใน ระยะเวลา 3 ปี จัดสอนในชั้นปีใดปีหนึ่ง จัดสอนในชั้นปีใดปีหนึ่ง หรือ จัดสอนทั้ง 2 รายวิชาต่อเนื่องกัน ภายใน ระยะเวลา 3 ปี 2. การสื่อสารและการนำเสนอ (Communication and Presentation) (IS2) ( หน่วยกิต ) กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน 3. กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ (IS3) บูรณาการ IS3 ในกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ ในชั้นที่เรียน IS2 มาแล้ว 24/09/5911 โรงเรียนมาตรฐานสากลกับการสอน IS

24/09/5912 โรงเรียนมาตรฐานสากลกับการสอน IS

24/09/5913 โรงเรียนมาตรฐานสากลกับการสอน IS

24/09/59 โรงเรียนมาตรฐานสากลกับการสอน IS 14 สรุป ระดับมัธยมศึกษา ให้จัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติม 2 รายวิชา และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ดังนี้ รายวิชาเพิ่มเติมนั้นให้จัดภาคเรียนละ 1 รายวิชา ในชั้นปีใดปีหนึ่งของระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นและ ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย รายวิชาเพิ่มเติมที่ 1 ใช้ชื่อรายวิชา การศึกษา ค้นคว้าและการสร้างองค์ความรู้ (Research and Knowledge Formation ) (1-1.5 หน่วยกิต ) ใน รายวิชานี้ซึ่งผู้เรียนจะได้รับการพัฒนาให้เกิดความรู้และ ทักษะตาม IS 1 ผู้เรียนเลือกประเด็นที่สนใจในการ เรียนรู้ เพื่อกำหนดประเด็นปัญหา ตั้งสมมุติฐาน ค้นคว้าแสวงหาความรู้จากแหล่งข้อมูล ต่างๆ และฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และ สร้างองค์ความรู้

24/09/59 โรงเรียนมาตรฐานสากลกับการสอน IS 15 รายวิชาเพิ่มเติมที่ 2 ใช้ชื่อรายวิชา การสื่อสาร และการนำเสนอ (Communication and Presentotion ) (1-1.5 หน่วยกิต ) เป็นการเรียนรู้ที่ต่อเนื่องจากวิชาแรก โดยผู้เรียน นำสิ่งที่ได้ศึกษาค้นคว้า จากรายวิชา การศึกษาค้นคว้า และสร้างองค์ความรู้ มาเขียนรายงานหรือ เอกสารทางวิชาการและนำเสนอเพื่อสื่อสารถ่ายทอด ข้อมูล ความรู้นั้นให้ผู้อื่นเข้าใจ ( ร่องรอยหลักฐานใน การเรียนรู้ได้แก่ ผลงานการเขียนทางวิชาการ 1 ชิ้น และการสื่อสารนำเสนอสิ่งที่ได้จากการศึกษาคันคว้า ในระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น เป็นภาษาไทย 2,500 คำ ระดับมัธยมศึกษา ตอนปลายเป็นภาษาไทย 4,000 คำ หรือภาษาอังกฤษ 2,000 คำ )

24/09/59 โรงเรียนมาตรฐานสากลกับการสอน IS 16 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ให้จัดในกิจกรรมเพื่อพัฒนา สังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นการนำสิ่งที่เรียนรู้จากรายวิชาเพิ่มเติมทั้ง 2 รายวิชา ไป ประยุกต์ใช้ในการทำประโยชน์ ต่อสังคม ( สาระการเรียนรู้ IS3) (Global Education and Social Service Activity) ในการจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ( กิจกรรมเพื่อ สังคมและสาธารณประโยชน์ ) ได้กำหนด ไว้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งโรงเรียนทุกแห่ง รวมทั้งโรงเรียนมาตรฐานสากล ต้องจัดเพื่อพัฒนา ผู้เรียน ในส่วนของโรงเรียน มาตรฐานสากลที่สถานศึกษาต้องจัดกิจกรรมสาระ IS3 นั้น ควรจัดกิจกรรมในชั้นที่ผู้เรียน ได้เรียนรู้ IS2 ซึ่งเป็นกิจกรรมที่ต่อเนื่องเชื่อมโยงกัน

24/09/59 โรงเรียนมาตรฐานสากลกับการสอน IS ชื่อหน่วยการเรียนรู้ 2. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด 3. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด 4. สาระการเรียนรู้ - สาระการเรียนรู้แกนกลาง - สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น ( ถ้ามี ) 5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน 6. คุณลักษณะอันพึ่งประสงค์ เป้าหมาย การเรียนรู้

24/09/59 โรงเรียนมาตรฐานสากลกับการสอน IS ชิ้นงาน / ภาระงาน 8. การวัดและประเมินผล 9. กิจกรรมการเรียนรู้ 10. เวลาเรียน / จำนวนชั่วโมง หลักฐาน การเรียนรู้ กิจกรรม การเรียนรู้