ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินโครงการ ให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) น้ำหนั ก : LineStaff Line & Staff 777.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สำนักมาตรฐานด้านการบัญชีภาครัฐ
Advertisements

การติดตามและ ประเมินผลโครงการ
สถานการณ์ส้วมสาธารณะในกรุงเทพมหานคร
การจัดทำแผนปฏิทินการจัดการความรู้ และแผนในการติดตามประเมินผลการจัดการความรู้ E:\ประกันคุณภาพ\ppt\ดูงาน\12-PPT_เสนอ_ครุศาสตร์_จุฬา_19_11_50.ppt.
การแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทวิชาการ
ความก้าวหน้าในการจัดทำแผนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และแผนปฏิบัติการกำหนดขั้นตอนการกระจายอำนาจ ให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ฉบับที่
ผู้รับผิดชอบ : สำนักงาน ก.ก.
งานบริการการศึกษา.
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.
เอกสารประกอบการประชุม จังหวัดนครสวรรค์ วันที่ 14 ก.พ. 56
แผนพัฒนาองค์การ ปี 2553 แผนการปรับปรุงระบบการเรียนรู้ความต้องการและ
ผู้รับผิดชอบ ผลผลิต ฝ่ายบริหารทั่วไป
1. 2 กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนา องค์กรและเกษตรกร ที่ตัวชี้วัด หน่วยนับ แผนผล % หมายเหตุ 1 สหกรณ์ผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง กลุ่มเกษตรกรผ่านเกณฑ์มาตรฐานแห่ง.
LOGO การคำนวณต้นทุนผลผลิต ของปีงบประมาณ 2553 โดย นายธีรชาติ พันธุ์หอม หัวหน้าฝ่ายแผนงานและ งบประมาณด้านก่อสร้าง คณะทำงานต้นทุนผลผลิตสำนัก ชลประทานที่ 11.
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
ผลการปฏิบัติราชการ ตามคำรับรองการปฏิบัติราชการ กรมอนามัย ปีงบประมาณ พ
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติเกี่ยวกับ การประกันคุณภาพภายในการอาชีวศึกษา พ. ศ
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
แผนที่ยทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ แผนที่ยุทธศาสตร์ สถาบันวิจัยและพัฒนา พ. ศ วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มุ่งส่งเสริม สร้างเครือข่าย.
KPI 8 : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาบุคลากร น้ำหนัก :ร้อยละ 5 KPI ๑๐ : ระดับความสำเร็จของการพัฒนาปรับปรุง วัฒนธรรมองค์การ น้ำหนัก : ร้อยละ 3 กองการเจ้าหน้าที่
นางวราพันธ์ ลังกาวงศ์ ผู้อำนวยการกลุ่มนโยบายและแผน.
ภาพรวมและความเชื่อมโยงการดำเนินการ ตามตัวชี้วัด ระดับความสำเร็จของการพัฒนา คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ส่วนราชการระดับกรม.
การขอมีหรือขอเลื่อนวิทยฐานะโดยใช้รางวัล สูงสุดระดับชาติ ตามหลักเกณฑ์ ว 13 / 2556 ดร. ชูชาติ ทรัพย์มาก ที่ปรึกษาด้านการบริหารงานบุคคลและนิติ การ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น.
กลุ่มนโยบายและ แผน สพป. สท. 2 กลุ่มนโยบายและ แผน สพป. สท. 2.
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
1 ตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา สมรรถนะของบุคลากร ตัวชี้วัดที่ 12 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา ปรับปรุงวัฒนธรรมองค์การ หน่วยงานกำกับ : กองการเจ้าหน้าที่
องค์ความรู้ที่จำเป็นในการปฏิบัติราชการ แบบฟอร์มที่ 1 การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ชื่อส่วนราชการ : กรมทรัพยากรน้ำบาดาล.
การประเมินผลโครงการ คป สอ. เกาะช้าง ปี การดำเนินงาน 1. แต่งตั้งคณะกรรมการ ประธาน คปสอ. เกาะช้าง ประธาน คณะกรรมการ ผอ. รพ. เกาะช้างรองประธาน เลขานุการผู้รับผิดชอบงาน.
สร้างความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานราก จากต้นทาง กลางทาง จนถึงปลายทาง
ธนิตสรณ์ จิระพรชัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลงจากปี 2560
สำนักงาน ก.ก. และสำนักงานตรวจสอบภายใน สำนักปลัดกรุงเทพมหานคร
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
ประเด็นที่เปลี่ยนแปลง
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
กลุ่มงานบริหารทรัพยากรบุคลากร
Strategy Map สำนักงานสรรพากรพื้นที่กรุงเทพมหานคร12
แนวทางการปฏิบัติงานตามข้อสั่งการ ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
ขั้นตอนการจัดทำงบประมาณ
แพทย์หญิงวันทนีย์ วัฒนะ ผู้อำนวยการสำนักอนามัย
กรอบอัตรากำลังของบุคลากรทางการศึกษาอื่นตามมาตรา 38 ค. (2)
วิธีการกรอกแบบเสนอโครงการในไฟล์ Power point นี้
การประเมินผลการปฏิบัติงาน
ความสำเร็จของการดำเนินการตามมาตรการประหยัดพลังงาน
(ปัจจุบันไม่มียอดค้างชำระ)
สำนักพัฒนาระบบและรับรองมาตรฐานสินค้าปศุสัตว์ กรมปศุสัตว์
การดำเนินงานเมื่อสิ้นสุดโครงการ
แนวทางปฏิบัติ กรมป่าไม้
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
กรมตรวจบัญชีสหกรณ์.
“ปฏิบัติการสู่ชำนาญการ”
แนวทางการบริหารการจัดเก็บ ข้อมูลเพื่อการพัฒนาชุมชน ปี 2561
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
ตัวชี้วัด : ระดับความสำเร็จขององค์กรปกครอง
วาระการประชุมคณะกรรมการกำกับดูแลองค์การที่ดี สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข ครั้งที่ ๑/๒๕๖๐ วันพฤหัสบดีที่ ๓ พฤศจิกายน ๒๕๕๙ เวลา ๐๙.๓๐ – ๑๒.๐๐ ณ.
ปี 2560 ปฏิทินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส
จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กรได้ครบถ้วน หมวด P 13 ข้อ
การประชุมกรมอนามัย ครั้งที่ 10/2557 วันเสาร์ที่ 11 ตุลาคม 2557
ระดับความสำเร็จในการแก้ไข เรื่องร้องเรียนจากประชาชน/ผู้รับบริการ
มุ่งเน้น การประเมินระดับการดำเนินงาน “หน่วยงานคุณธรรม”
มีระบบการตรวจสอบภายใน ควบคุมภายใน และการบริหารความเสี่ยงระดับจังหวัด
กรมมีผลการปฏิบัติงานที่ดี เกษตรกรได้รับประโยชน์
การจัดการความรู้ สำนักชลประทานที่ 15
คู่มือการใช้เครื่องชี้วัดสำหรับ การประเมินผลการปฏิบัติตามมาตรฐาน ทางคุณธรรมและจริยธรรม ส่วนมาตรฐานการบริหารงานบุคคล สำนักงาน ก.ถ. สป.
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ตัวชี้วัดที่ 3.2 ร้อยละ ความสำเร็จของ การดำเนินโครงการ ให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) น้ำหนั ก : LineStaff Line & Staff 777

คำอธิบาย โครงการให้บริการที่ดีที่สุด หมายถึง โครงการ ที่หน่วยงานคิดค้น / พัฒนา / ปรับปรุงระบบการ ให้บริการให้มีความทันสมัย คล่องตัว เพื่อ อำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนหรือ ผู้รับบริการ ภายใต้แนวคิดการยึดผู้รับบริการเป็น หลัก โครงการให้บริการที่ดีที่สุด หมายถึง โครงการ ที่หน่วยงานคิดค้น / พัฒนา / ปรับปรุงระบบการ ให้บริการให้มีความทันสมัย คล่องตัว เพื่อ อำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชนหรือ ผู้รับบริการ ภายใต้แนวคิดการยึดผู้รับบริการเป็น หลัก ด้วยการนำเทคนิคทางการบริหาร สมัยใหม่มาประยุกต์ใช้อย่างเหมาะสม เช่น ระบบ Lean Reengineering Process Redesign ฯลฯ การนำ IT เข้า ช่วย

ประเด็นการประเมินโครงการให้บริการที่ดีที่สุด 1. การรักษาหรือคงไว้หรือพัฒนาโครงการ ให้บริการที่ดีที่สุด (Best Service) ที่ หน่วยงานนำเสนอเพื่อขอรับการประเมิน ในปีงบประมาณ ที่ผ่านมา ( ปีงบประมาณ พ. ศ ) ( น้ำหนักคะแนน ร้อย ละ 3) 2. การดำเนินโครงการให้บริการที่ดีที่สุดใน ปีงบประมาณ พ. ศ ( น้ำหนัก คะแนน ร้อยละ 4)

1. การรักษาหรือคงไว้หรือพัฒนา โครงการให้บริการที่ดีที่สุด หน่วยงานคัดเลือกโครงการให้บริการที่ดี ที่สุดในปีงบประมาณ พ. ศ ที่ โดดเด่นและสำคัญ อย่างน้อย 2 โครงการ เสนอต่อคณะกรรมการพัฒนาระบบการ ให้บริการที่ดีที่สุดของกรุงเทพมหานคร พิจารณา ต้องดำเนินการให้ได้ผลตามเป้าหมาย ของตัวชี้วัดโครงการที่ คณะกรรมการฯ กำหนด

2. การดำเนินโครงการให้บริการที่ดีที่สุดใน ปีงบประมาณ พ. ศ หน่วยงานกำหนดโครงการโดยพิจารณาจาก ปัญหาที่เกิดขึ้น ตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ การปรับปรุงผลการดำเนินงาน การทำให้ประชาชนเข้าถึงบริการของ ภาครัฐได้ง่าย การเป็นเครือข่ายกับภาคประชาชน / ภาคเอกชน การนำเครื่องมือภาคเอกชนใช้มาปรับใช้

แนวทางการนำเสนอโครงการ ให้บริการที่ดีที่สุด ระบุประเด็นปัญหา / ความต้องการของ ผู้รับบริการ ระบุเทคนิค / แนวคิด / องค์ความรู้ / แนว ปฏิบัติ ที่ใช้ดำเนินโครงการ โดดเด่น มีประโยชน์ เป็นเลิศเมื่อเทียบ กับการให้บริการตามปกติ มีคุณภาพ คุ้มค่า มีความยากง่าย และ ความท้าทายที่เหมาะสม หน่วยงานตั้งแต่ 2 หน่วยงานขึ้นไป ดำเนินโครงการร่วมกันได้ในลักษณะ ของหุ้นส่วนที่แบ่งหน้าที่ความ รับผิดชอบ

การกำหนดตัวชี้วัดโครงการ กำหนดตัวชี้วัดอย่างน้อย 3 ตัวชี้วัด ที่ สามารถวัดถึงประสิทธิภาพ และคุณภาพที่ จะเกิดขึ้นจากการดำเนินโครงการ กำหนดค่าเป้าหมายตัวชี้วัดตามบริบท ของโครงการ นำเสนอคณะกรรมการพัฒนาระบบการ ให้บริการที่ดีที่สุดของกรุงเทพมหานคร พิจารณา

วิธีการประเมินผลผลรวมของผลการดำเนินการตามตัวชี้วัดจำนวนตัวชี้วัดทั้งหมด ผลคะแนนการดำเนิน โครงการให้บริการที่ดีที่สุด ผลคะแนนการดำเนิน โครงการให้บริการที่ดีที่สุด = ผลงานที่สามารถดำเนินการได้ x 100 เป้าหมายของตัวชี้วัด = ผลการดำเนินการตามตัวชี้วัดผลการดำเนินการตามตัวชี้วัด ผลคะแนนการดำเนินการตามตัวชี้วัด : วัดจาก ผลงานที่สามารถดำเนินการ – ดำเนินการได้  เป้าหมาย คิดเป็นร้อยละ 100 – ดำเนินการได้ < เป้าหมาย คิดร้อยละตาม สัดส่วนของผลงานที่ดำเนินการได้

เกณฑ์การให้คะแนนระดับคะแนน12345 ผลคะแนนการ ดำเนิน โครงการ ให้บริการ ที่ดีที่สุด ( ร้อย ละ )

การดำเนินการ การดำเนินการระยะเวลา เกณฑ์การหัก คะแนน ( จาก น้ำหนัก คะแนนของ ตัวชี้วัด ) 1. สำรวจ / ระบุปัญหา เทคนิค / แนวคิด / องค์ ความรู้ / แนวปฏิบัติในการ จัดทำโครงการ ก. ย. – ต. ค จัดทำโครงการส่งให้ สกก. ( ภายในเดือน พ. ย. 2558) สกก. แจ้งอีก ครั้งหนึ่ง 0.5 คะแนน และตัดคะแนน เพิ่มอีกวันละ 0.01 คะแนน

การดำเนินการระยะเวลา เกณฑ์การหัก คะแนน ( จาก น้ำหนัก คะแนนของ ตัวชี้วัด ) 3. นำเสนอโครงการต่อคณะ กรรมการฯ พิจารณาไม่เกิน 3 ครั้ง หากไม่ผ่านภายใน ๓ ครั้ง ถือว่าจะไม่ได้รับการ ประเมินผลในตัวชี้วัดนี้ ) สกก. แจ้งผลการพิจารณา ภายใน 7 วันทำ การนับ จากมีมติ -

การดำเนินการระยะเวลา เกณฑ์การหัก คะแนน ( จาก น้ำหนัก คะแนนของ ตัวชี้วัด ) 5. หน่วยงานแก้ไขโครงการ 5.1 แก้ไขโครงการตามมติ คณะกรรมการฯ 5.1 แก้ไขโครงการตามมติ คณะกรรมการฯ ภายใน 10 วันทำการ นับถัดจาก วันที่ เวียนแจ้ง 0.02 คะแนน 5.2 กรณีไม่ได้รับอนุมัติ และ หน่วยงานไม่เห็นด้วย ขอชี้แจง ต่อคณะกรรมการได้ โดยแจ้ง ความจำนงถึงประธาน กรรมการ เป็นลายลักษณ์ อักษร ผ่านหัวหน้าสำนักงาน ก. ก. ( กรรมการพิจารณา ทบทวนแล้วถือว่าสิ้นสุด ) 5.2 กรณีไม่ได้รับอนุมัติ และ หน่วยงานไม่เห็นด้วย ขอชี้แจง ต่อคณะกรรมการได้ โดยแจ้ง ความจำนงถึงประธาน กรรมการ เป็นลายลักษณ์ อักษร ผ่านหัวหน้าสำนักงาน ก. ก. ( กรรมการพิจารณา ทบทวนแล้วถือว่าสิ้นสุด ) ภายใน 7 วันทำการ นับตั้งแต่วัน ได้รับแจ้ง ผลการ พิจารณา

การดำเนินการระยะเวลา เกณฑ์การหัก คะแนน ( จาก น้ำหนัก คะแนนของ ตัวชี้วัด ) 6. หน่วยงานดำเนิน โครงการที่ผ่านการ พิจารณาแล้ว ตั้งแต่ กรรมการมี มติอนุมัติ - 7. รายงานผลความสำเร็จ ของโครงการให้สำนักงาน ก. ก. จะแจ้งให้ ทราบต่อไป - 8. สำนักงาน ก. ก. พิจารณาผลสำเร็จตาม เกณฑ์การให้คะแนน ภายใน ตุลาคม

เชิญแสดงความ คิดเห็น

ขอบคุณ ครับ