การขับเคลื่อน การศึกษาไทย สู่ประชาคม“อาเซียน” การขับเคลื่อน การศึกษาไทย สู่ประชาคม“อาเซียน” จันทรา ตันติพงศานุรักษ์ ชยพร กระต่ายทอง สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษาสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ , ,
ทำไมต้อง... ขับเคลื่อนอาเซียน ? 2
Association of Southeast Asian Nations (ASEAN) สมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อ 8 สิงหาคม 1967 (พ.ศ สมาคมแห่งประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อ 8 สิงหาคม 1967 (พ.ศ. 2510) จุดเริ่มต้นของอาเซียน 3 o ส่งเสริมความร่วมมือและความ ช่วยเหลือซึ่งกันและกันในทาง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม o ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคง ส่วนภูมิภาค o เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกับประเทศภายนอก องค์การ ความร่วมมือแห่งภูมิภาคอื่นๆ และองค์การ ระหว่างประเทศ วัตถุประสงค์สำคัญ
สมาชิกผู้ก่อตั้ง ปี 1967 ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ สิงคโปร์ สมาชิก เพิ่มเติม สมาชิก เพิ่มเติม + บรูไน ดารุส ซาลาม ปี เวียดนาม ปี ลาว ปี พม่า ปี กัมพูชา ปี
สันติภาพและ เสถียรภาพ ความบริสุทธิ์ ความเจริญรุ่งเรือง ความกล้าหาญและ พลวัตร ข้าว 10 ต้น คือ 10 ประเทศรวมกันเพื่อมิตรภาพและ ความเป็นน้ำหนึ่งใจเดียว วงกลมแสดงถึงความเป็นเอกภาพ ความหมายของตราสัญลักษณ์ อาเซียน 5
ประชาคมอาเซียน 3 เสาหลัก ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม 6
ASEAN Centrality
ASEAN Charter (กฎบัตรอาเซียน) A constitution of ASEAN ธรรมนูญอาเซียน วางกรอบการทำงาน การจัดตั้งสถาบัน และ แนวทางกฎหมายของ ASEAN วัตถุประสงค์หลักของ ASEAN Charter -- สร้าง ASEAN ให้ ….. – มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลสูงขึ้น – เคารพกฎกติการ่วมกันมากขึ้น – ให้ความสำคัญต่อประชาชนมากขึ้น 8
ดร.สุรินทร์ พิศสุวรรณ (เลขาธิการอาเซียน)
ทัศนคติและความตระหนักรู้ เพื่อก้าวไปสู่ “อาเซียน” บทสรุปข้อค้นพบจากการสำรวจข้อมูล ประเทศสมาชิกอาเซียน สำรวจข้อมูลของนักศึกษา จำนวน 2,170 คน จากมหาวิทยาลัยชั้นนำในประเทศสมาชิกอาเซียน
ผม/ฉันรู้สึกว่าตนเองเป็นพลเมืองอาเซียน (I feel that I am a citizen of ASEAN) 1.ลาว 96.0% 2. กัมพูชา 92.7% 3. เวียดนาม 91.7% 4. มาเลเซีย 86.8% 5. บรูไน 82.2% 6. อินโดนีเซีย 73.0% 7. ฟิลิปปินส์ 69.6% 8. ไทย 67.0% 9. พม่า 59.5% 10. สิงคโปร์ 49.3% 11
คุณรู้เกี่ยวกับอาเซียนจาก … 1.โทรทัศน์ 78.4%10. ครอบครัว 18.2% 2.โรงเรียน 73.4%11. การเดินทาง 13.3% 3.หนังสือพิมพ์70.7%12. ภาพยนตร์ 12.1% 4.หนังสือ 65.0%13. ดนตรี 9.2% 5.อินเตอร์เน็ต 49.9%14. งาน/อาชีพ 6.1% 6.วิทยุ 40.3% 7.กีฬา 34.1% 8. โฆษณา 31.6% 9. เพื่อนๆ 27.6% 12
เป้าหมายของ อาเซียน ประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศรวมเป็นประชาคมเดียวกัน ในปี พ. ศ มีการค้าเสรีระหว่างกัน ไม่มีการเก็บ ภาษีศุลกากร เปิดให้มีการเคลื่อนย้ายทุน และการ ลงทุนอย่างเสรี แรงงานมีฝีมือ มีอิสระในการหางาน ทำ ภาษาอังกฤษเป็นภาษาราชการของ อาเซียน 13
นโยบายรองรับการเปิดเสรีร่วมกับประชาคมอาเซียน ของกระทรวงศึกษาธิการ 1.การเผยแพร่ความรู้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับอาเซียน เพื่อสร้างความตระหนัก และเตรียมความพร้อม ของครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา นักเรียน นักศึกษา และประชาชน 2.การพัฒนาศักยภาพของนักศึกษา นักเรียน และ ประชาชนให้มีทักษะ เพื่อเตรียมความพร้อม ในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เช่น ภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน 14
3.การพัฒนามาตรฐานการศึกษา เพื่อส่งเสริมการ หมุนเวียนของนักศึกษาและครูในอาเซียน และยอมรับ ในคุณสมบัติร่วมกัน ส่งเสริมการเป็นศูนย์กลาง การศึกษาของภูมิภาค 4.การเตรียมความพร้อม เพื่อเปิดเสรีการศึกษาในอาเซียน 5.การพัฒนาเยาวชน เพื่อเป็นทรัพยากรในการเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน 15
จุดเน้นของ สพฐ. ปี 2554 ข้อที่ 8 “นักเรียน ครู และสถานศึกษาได้รับการพัฒนา เตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community)” 16
School สังกัด สพฐ. เป้าหมายการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน Sister School (30 โรง)Buffer School (24 โรง) ASEAN Focus School (14 โรง) - ผู้บริหาร ครู และผู้เรียนมี ความรู้ ความ เข้าใจ และ ความตระหนัก เกี่ยวกับอาเซียน - จัดกิจกรรม การเรียนรู้ เกี่ยวกับอาเซียน - จัดกิจกรรม สร้างความรู้ความ เข้าใจและความ ตระหนักเกี่ยวกับ อาเซียน - มีมุมอาเซียน ศึกษา หรือศูนย์ อาเซียนศึกษา - เป็นโรงเรียนต้นแบบ การพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาที่เน้น อาเซียน เน้น ภาษาอังกฤษ ICT พหุวัฒนธรรม ภาษาเพื่อนบ้าน - เป็นศูนย์อาเซียน ศึกษา เผยแพร่สื่อการ เรียนรู้ และ แหล่งการเรียนรู้ เกี่ยวกับอาเซียน สำหรับผู้บริหาร ครู ผู้เรียน และชุมชน รวมทั้งผู้สนใจทั่วไป - จัดกิจกรรมสร้าง ความรู้ความเข้าใจและ ความตระหนักเกี่ยวกับ อาเซียน - มีโรงเรียนเครือข่าย อย่างน้อย 9 โรง - เป็นโรงเรียน ต้นแบบการ พัฒนาการเรียนรู้ อาเซียน โดยการ บูรณาการใน หลักสูตร’2551 เน้น การจัดกิจกรรม พัฒนาผู้เรียน และ การจัดทำหน่วยการ เรียนรู้อาเซียนศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษาฯ - เป็นศูนย์อาเซียน ศึกษา เป็นแหล่ง การเรียนรู้เกี่ยวกับ อาเซียนในโรงเรียน และชุมชน - เป็นโรงเรียนต้นแบบ การพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาที่เน้น อาเซียน เน้นภาษา เพื่อนบ้าน พหุวัฒนธรรม - เป็นศูนย์อาเซียน ศึกษา เผยแพร่สื่อการ เรียนรู้ และ แหล่งการเรียนรู้ เกี่ยวกับอาเซียน สำหรับผู้บริหาร ครู ผู้เรียน และชุมชน รวมทั้งผู้สนใจทั่วไป - จัดกิจกรรมสร้าง ความรู้ความเข้าใจและ ความตระหนักเกี่ยวกับ อาเซียน - มีโรงเรียนเครือข่าย อย่างน้อย 9 โรง 17
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ที่เน้น “อาเซียน” และการจัด การเรียนรู้เกี่ยวกับ “อาเซียน” ASEAN Community หลักสูตร สถานศึกษา
หลักสูตร แกนกลาง การศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 อาเซีย น ข้อมูล พื้นฐาน / บริบทของ โรงเรียน จุดเน้นของ Sister School ภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อน บ้าน ICT พหุ วัฒนธรรม หลักสูตร สถานศึก ษา Sister School/ Buffer School รายวิ ชา พื้นฐา น รายวิ ชา เพิ่มเติ ม กิจกร รม พัฒน า ผู้เรีย น Web Comm unity หลักสูตรสถานศึกษาที่เน้น อาเซียน : Sister School/Buffer School จุดเน้นของ Buffer School ภาษาเพื่อน บ้าน พหุ วัฒนธรรม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 อาเซียนองค์ความรู้เกี่ยวกับอาเซียน - ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับอาเซียน - ข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับประเทศสมาชิก อาเซียน - วิถีชีวิต/พหุวัฒนธรรม - ประชาคมอาเซียน กฎบัตรอาเซียน ปฏิญญาอาเซียน - ประเด็นสำคัญที่เกี่ยวกับอาเซียน เช่น พลเมือง สิทธิมนุษยชน ประชาธิปไตย ประวัติศาสตร์เชิงบวก สันติศึกษา สิ่งแวดล้อม การเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ สุขภาพ การค้าเสรี ฯลฯ - สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ทักษะ/กระบวนการ - การใช้ภาษาอังกฤษ ภาษาเพื่อนบ้าน - การใช้ ICT - การคำนวณ การให้เหตุผล - กระบวนการคิด วิเคราะห์ สร้างสรรค์ กระบวนการกลุ่ม แก้ปัญหา สืบสอบ การสื่อสาร การสร้างความตระหนักคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - มีทักษะชีวิต - กล้าแสดงออก - เอื้ออาทรและแบ่งปัน - เข้าใจตนเองและผู้อื่น - ยอมรับความแตกต่างระหว่างบุคคล - common values ฯลฯ หลักสูตรสถานศึกษา - ส่วนนำ (ความนำ วิสัยทัศน์โรงเรียน สมรรถนะ สำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์) - โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา (โครงสร้างเวลาเรียน โครงสร้างหลักสูตรชั้นปี) - คำอธิบายรายวิชา - กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน - เกณฑ์การจบการศึกษา รายวิชาพื้นฐาน ที่บูรณาการ อาเซียน รายวิชา เพิ่มเติม ที่เน้นอาเซียน กิจกรรม พัฒนาผู้เรียน ที่เน้นอาเซียน การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ที่เน้นอาเซียน 20
การออกแบบการจัดการเรียนรู้ ด้วยกระบวนการออกแบบย้อนกลับ กำหนดเป้าหมายในการเรียนรู้: ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้ กำหนดการวัดและประเมินผล: ภาระงาน/ผลงาน การประเมินและเกณฑ์ วางแผนการจัดการเรียนรู้: กิจกรรมการเรียนรู้ 21
แนวการจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับอาเซียน เน้นนักเรียนเป็นสำคัญ เปิดโอกาสให้นักเรียนมีส่วนร่วม ในการจัดการเรียนรู้ ใช้การบูรณาการ ยืดหยุ่น ปรับเปลี่ยนกิจกรรมได้ตามความเหมาะสม ใช้กระบวนการเรียนรู้ที่เน้นกระบวนการคิด แก้ปัญหา สร้างความตระหนัก สื่อสาร เลือกใช้วิธีสอนและเทคนิคการสอน สื่อ/แหล่งการ เรียนรู้ การวัดและประเมินผลหลากหลายตามสภาพจริง ส่งเสริมการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่ดี เพื่อความเป็นพลเมืองที่ดีในประชาคมอาเซียน
23
24
สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้ เอกสาร หนังสือ ตำรา นิตยสาร วารสาร หนังสือพิมพ์ วรรณกรรม วรรณคดี เอกสาร หนังสือ ตำรา นิตยสาร วารสาร หนังสือพิมพ์ วรรณกรรม วรรณคดี เรื่องราว เหตุการณ์ เรื่องราว เหตุการณ์ เพลง เกม การละเล่น เพลง เกม การละเล่น ธงชาติ ลูกโลก แผนที่ แผ่นพับ บัตรคำ บัตรภาพ ป้ายนิเทศ ธงชาติ ลูกโลก แผนที่ แผ่นพับ บัตรคำ บัตรภาพ ป้ายนิเทศ ของจริง ของจำลอง ของจริง ของจำลอง Website, Internet, Facebook, Web Community, E-book, CD, DVD etc. Website, Internet, Facebook, Web Community, E-book, CD, DVD etc. สถานที่ต่างๆ สถานที่ต่างๆ บุคคลต่างๆ บุคคลต่างๆ ฯลฯ ฯลฯ 25
Website แนะนำ Website แนะนำ
แหล่งการเรียนรู้: ศูนย์อาเซียนศึกษา ศูนย์อาเซียนศึกษา ในโครงการพัฒนาสู่ประชาคม อาเซียน: Spirit of ASEAN 54 โรง * โรงเรียน Sister School 30 ศูนย์ * โรงเรียน Sister School 30 ศูนย์ * โรงเรียน Buffer School 24 ศูนย์ * โรงเรียน Buffer School 24 ศูนย์ * โรงเรียนเครือข่าย ตามความพร้อม * โรงเรียนเครือข่าย ตามความพร้อม ศูนย์อาเซียนศึกษา ในโครงการการพัฒนาการจัด การเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน ASEAN FOCUS 14 โรง ศูนย์อาเซียนศึกษา ในโรงเรียน Education Hub 14 โรง 27
28
29
30