การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
สิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน กับการบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
Advertisements

ทฤษฎีทางอาชีพ ผศ. นิตยา เรืองแป้น ภาควิชาพื้นฐานการศึกษา
เรื่อง การศึกษาความต้องการและปัจจัยที่มีผล ต่อการเลือกสถานศึกษาเพื่อศึกษาต่อที่ โรงเรียน เทคนิควิมลบริหารธุรกิจ ของ นักเรียนในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายใน โรงเรียนจังหวัด.
บทที่ 3 การบริหารพนักงานขาย
นโยบายการดำเนินงาน รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ศ. นพ. รัชตะ รัชตะนาวิน และ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข นพ. สมศักดิ์ ชุณหรัศมิ์
การศึกษารูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ follow me เพื่อพัฒนาความรับผิดชอบทางการเรียนวิชาบัญชีเบื้องต้น 2 ของนักศึกษาระดับ ปวช.1 สาขาพณิชยการ โดย อ.ชรินทร.
มาตรฐานครูสอนภาษาอังกฤษในประเทศไทย
. แผ น กลุ่ม 1 กลุ่ม 2 กลุ่ม 3 กลุ่ม 4 กลุ่ม 5 รวม 1. สหกรณ์/กลุ่ม เกษตรกรได้รับ การส่งเสริม สนับสนุนการ ดำเนินงาน สหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร
ยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการจัดบริการสุขภาพ
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
กระบวนการถ่ายทอดความรู้
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ เพื่อพัฒนาบริการกลุ่มวัยรุ่น ปี 2558 วันที่ 15 มิถุนายน 2558 ณ ห้องประชุมสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่ จำกัด.
ร่องรอยหลักฐานการกำหนดมาตรฐานและการจัดระบบบริหาร
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
ปลัดกระทรวงสาธารณสุข
ความหมายของโครงการ โครงการ (PROJECT) โครงการ (PROJECT) กระบวนการ ทำงานที่ประกอบด้วยกิจกรรมหลาย ๆ กิจกรรม ซึ่งมีการทำโครงการเป็นไปตามลำดับ โดยการ ทำงานจะต้องเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้
โครงการพัฒนา ศักยภาพบุคลากร เพื่อยกระดับการ บริหารจัดการเชิงกล ยุทธ์และพัฒนาอัต ลักษณ์ผู้เรียนภาค บังคับ สู่ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ๒๐ - ๒๑ สิงหาคม ๒๕๕๘.
Knowledge- Base Systems ระบบสหกรณ์. ที่มาของโครงการ โครงการนี้เกิดจากการรวมกลุ่มของกลุ่มบุคคล เพื่อดำเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ซึ่งก่อให้เกิด ประโยชน์ต่อความต้องการและเป้าหมายของ.
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
คนเป็นทรัพย์สินที่มี ค่ายิ่งของหน่วย อ้างอิง : สมาคมการจัดการงานบุคคลแห่งประเทศไทย คน เก่ง คน ดี คน มี ความ สุข เป้าหมายการ พัฒนากำลังพล เพื่อให้ทำงานอย่าง.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
ข้อที่เกณฑ์การประเมินการดำเนินงาน ข้อ 1 พัฒนาแผนกลยุทธ์จากผลการวิเคราะห์ SWOT โดยเชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ของคณะและ สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของคณะ สถาบัน.
รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา รายงานการ ดำเนินงาน ศูนย์แนะแนวต้นแบบประจำสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษามัธยมศึกษา.
ทิศทางการตลาด และ การ สนับสนุนเกษตร อินทรีย์ โดย น. ส. สุทัศนีย์ ราช เรืองระบิน รองอธิบดี กรมการค้าภายใน.
Cop ที่ 3 การบริการวิชาการ : การ บริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง การบริการวิชาการแบบมีส่วนร่วมเพื่อสร้าง ชุมชนเข้มแข็ง คือ กิจกรรมหรือโครงการให้บริการ.
รายงานผลการปฏิบัติงาน ประจำเดือน มกราคม 2559 (Performance Report January 2559 Monthly) ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอำเภอแม่วงก์
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
๓ มุ่งหน้าสู่พื้นที่ “จุดเริ่มและเป้าหมายอยู่ที่พื้นที่”
ความเป็นมา การส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน
การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ(PMQA)
ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ผอ.กลุ่มงานมาตรฐานการพัฒนาชุมชน
วาระที่ สรุปผลการปฏิบัติงาน ณ วันที่ 30 มิถุนายน 2559
บทสรุปผู้บริหาร การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม ปีงบประมาณ ๒๕๖๑ สำนักงานสาธารณสุขอำเภอบรบือ จังหวัดมหาสารคาม.
แนวทางการจัดตั้งและพัฒนา สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน
ระบบ ISO 9001:2015 สำหรับธุรกิจบริหารจัดการเรือ
หลักสูตรอาเซียน เพื่อสร้างประชาคมอาเซียน ให้เป็นประชาคมที่มุ่งเน้น การปฏิสัมพันธ์กับต่างประเทศ มีความมั่นคง มีสันติภาพ และมีความมั่งคั่ง.
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
อำเภออนามัยการเจริญพันธุ์
ให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
การประเมินผลสัมฤทธิ์ของโครงการ
“การดูแลหญิงหลังคลอด และ ครอบครัวที่ติดเชื้อ เอช ไอ วี”
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
ยินดีต้อนรับ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน (พลเอก สุรศักดิ์ กาญจนรัตน์) และคณะ ในโอกาสตรวจเยี่ยมจังหวัดตาก วันที่ กรกฎาคม 2558.
กิจกรรมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ งานบริหารและธุรการ คณะบริหารธุรกิจ
ณ ห้องประชุมกองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร
แนวทาง/เกณฑ์การประเมินโครงการฯ
เครือข่ายความร่วมมือ เพื่อการพัฒนาห้องสมุดและ แหล่งเรียนรู้
MK201 Principles of Marketing
แนวทางการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาปฐมวัย สำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัด อปท. เข็มชาติ พิมพิลา รองผู้อำนวยการชำนาญการพิเศษ โรงเรียน เวียงเชียงรุ้งวิทยา.
วิชา พฤติกรรมผู้บริโภค
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
บทที่ 4 หลักทฤษฎีและปฏิบัติการธุรกิจ ผศ.ญาลดา พรประเสริฐ
ความหมาย ความสำคัญ และจุดมุ่งหมายของการศึกษา
การทำวิทยฐานะ แนวทางใหม่
ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
การวิเคราะห์ข้อมูล การท่องเที่ยว เพื่อทบทวนยุทธศาสตร์จังหวัด
งานวิจัยในชั้นเรียน ผู้วิจัย นางสาวนนทกานต์ ลีอุดมวงษ์ .
สถานการณ์เด็กไทยในปัจจุบัน
การท่องเที่ยวโดยชุมชน (Community - Based Tourism)
รายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา Self – Assessment Report
ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10
บทบาทหน้าของฝ่าย HR ในงานพัฒนาบุคคลและฝึกอบรม
การจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน Public and private management
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
รายงานผล O-NET ปีการศึกษา 2556
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning

 ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ อะไร ที่ไหน เมื่อไร แต่ในการวางแผนที่ มีระดับความซับซ้อนอย่างไร ก็มีคติ ความเชื่อพื้นฐานที่สำคัญร่วมกัน ประการหนึ่งคือ ความเชื่อเรื่อง “ ประสิทธิภาพ ” และ “ ประสิทธิผล ”  “ ประสิทธิภาพ ” คือ สมรรถนะของ ทรัพยากรในองค์กร 4 M ได้แก่คน งบประมาณ วัสดุ และการจัดการ  “ ประสิทธิผล ” คือ ผลที่เกิดขึ้นจาก “ ประสิทธิภาพ ” หลักและแนวคิดในการวางแผน การศึกษาในระดับจุลภาค

 การวางแผนโดยทั่ว ๆ มุ่งเน้นการวางแผน เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดสองมิติคือ  1. วางแผนการศึกษาในลักษณะ สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงและความ ต้องการของสังคมในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ การศึกษา เช่น วางแผนให้สอดคล้องกับ อัตราการเปลี่ยนแปลงหรืออัตราการเพิ่ม ของประชากรและวางแผนให้สอดคล้อง กับความต้องการทางแรงงาน  2. วางแผนการศึกษาในลักษณะที่ คำนึงถึงอัตราตอบแทนที่คุ้มค่ากับการ ลงทุน การวางแผนลักษณะนี้คำนึงถึงมิติ ด้านเศรษฐศาสตร์ สังคม วัฒนธรรมและ การเมือง เป้าหมายหลักของการวางแผน การศึกษา

 การวางแผนทั้ง 2 มิติ ยังมีการนำเรื่อง คุณภาพของการศึกษาเข้ามาเป็น จุดมุ่งหมายของการศึกษาอีกด้วยโดย เชื่อว่าระบบการศึกษาทั้งระบบสามารถ จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านอื่นๆ เช่น เศรษฐกิจ การเมืองและสังคมด้วย

 ในการวางแผนถ้านักวางแผนไม่มี ความเข้าใจเบื้องต้นจะไม่สามารถ วินิจฉัยได้ว่า อะไรเป็นสภาพ ปัจจุบันที่เป็นอยู่ อะไรคือปัญหา และอะไรคือความต้องการ ก็ยากที่ จะวางแผนและนำแผนไปปฏิบัติให้ เป็นผลสำเร็จได้ ดังนั้นนักวางแผน ควรจะเข้าใจความหมายของคำ เหล่านี้ให้ชัดเจนก่อน  สภาพปัจจุบัน หมายถึง สภาพ ความเป็นจริงที่กำลังเป็นอยู่  สภาพปัญหา หมายถึง สภาพที่ แตกต่างจากสิ่งที่เป็นอยู่ในปัจจุบัน หรือผลที่ปรากฏกับสิ่งที่ต้องการให้ เกิดขึ้นไม่ตรงกัน  ความต้องการ หมายถึง แนวโน้มที่ จะให้ถึงจุดหมายที่พึงปรารถนา ตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ วางไว้

การวางแผนการศึกษานอก โรงเรียนในระดับจุลภาค เศรษฐ กิจ ประชากร และสังคม วัฒนธร รม การเมืองการ ปกครอง การศึกษา นอกโรงเรียน สาธาร ณสุข อื่นๆ

 1. ปก  2. คำนำ  3. ข้อมูลตำบล ด้านประชากร สภาพ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง ประเพณี วัฒนธรรม  4. การวิเคราะห์สภาพปัญหาและความ ต้องการของชุมชนจากข้อมูลตามข้อ 3  5. ปรัชญาของ กศน. ตำบล  6. วิสัยทัศน์ของ กศน. ตำบล  7. พันธกิจของ กศน. ตำบล รูปเล่มการวางแผนจัดการศึกษาใน ระดับจุลภาค

 8. เป้าประสงค์  9. โครงการต่าง ๆ ตามบทบาทหน้าที่ ของ กศน. ตำบล  9.1 โครงการส่งเสริมการรู้หนังสือ โดยการนำข้อมูลจากการสำรวจ ประชากรผู้ไม่รู้หนังสือตามข้อมูล ประชากรในตำบลโดยการสำรวจ กลุ่มเป้าหมายอายุ 15 – 59 ปี อยู่ หมู่บ้านอะไร จำนวนเท่าไหร่ มีวิธีการ จัดอย่างไร ระยะเวลาในการจัด งบประมาณที่ใช้อย่างชัดเจน  9.2 โครงการจัดการศึกษาขั้น พื้นฐาน จัดเพื่อยกระดับการศึกษา ให้กับประชากรในตำบล โดยใช้ข้อมูล ประชากรในตำบลที่ได้รับการศึกษาใน ระดับต่าง ๆ ทั้งในและนอกระบบมา กำหนดปริมาณในการจัดการศึกษา รูปเล่มการวางแผนจัดการศึกษา ในระดับจุลภาค ( ต่อ )

 9.3 โครงการศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน จัดเพื่อพัฒนาอาชีพและเพิ่มรายได้ ให้กับประชากรในตำบลโดยระบุ วิชา ที่จัด หมู่บ้าน กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลา งบประมาณให้ชัดเจน  9.4 โครงการจัดการศึกษาเพื่อ พัฒนาทักษะชีวิต จัดเพื่อพัฒนาทักษะ ชีวิตให้กับประชาชนในตำบลโดยใช้ ข้อมูลสภาพทางสังคม การเมือง ประเพณีและวัฒนธรรม โดยระบุ เนื้อหา หมู่บ้าน กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลาและงบประมาณให้ชัดเจน  9.5 การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและ ชุมชน จัดให้กับประชาชนในตำบล โดยใช้ข้อมูลสภาพทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง ประเพณีและ วัฒนธรรม โดยระบุเนื้อหา หมู่บ้าน กลุ่มเป้าหมาย ระยะเวลา งบประมาณ ที่ใช้ให้ชัดเจน

 9.6 โครงการการจัดการศึกษาตาม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จัด ให้กับประชาชนในตำบลโดยใช้ข้อมูล ด้านเศรษฐกิจ โดยระบุศูนย์การเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง กลุ่มเป้าหมาย เนื้อหา ระยะเวลา งบประมาณให้ชัดเจน  9.7 โครงการส่งเสริมการอ่าน ระบุ กิจกรรมที่ดำเนินการ เช่น ครอบครัวรัก การอ่าน มุมส่งเสริมการอ่านในชุมชน กศน. ตำบลเคลื่อนที่ อาสาสมัครรักการ อ่าน มุมหนังสือที่ท่ารถ ร้านเสริมสวย ร้านตัดผม สถานีอนามัย  9.8 โครงการจัดบริหารสื่อประเภท ต่าง ๆ เช่น นสพ. สื่อสาธิต สื่อทดลอง ฯลฯ