ซอฟต์แวร์ Software รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 3. ความหมายและความสำคัญของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ชุดคำสั่งหรือโปรแกรม ที่คอยสั่งการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขัน
Advertisements

ซอฟแวร์ SOFTWARE น า ง ส า ว ฐ ิ ติ ม า น า ม ว ง ศ์ เ ล ข ที่ 4 3 ชั้ น ม. 4 / 7.
การจัดการองค์ความรู้ ( KM )
เรื่อง เทคโนโลยีบอรดแบนด์ไร้สาย
การจัดทำเว็บไซต์สำเร็จรูปด้วยโปรแกรม Joomla!
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์  การที่ระบบเครือข่ายมีบทบาทและ ความสำคัญเพิ่มขึ้น เพราะไมโครคอมพิวเตอร์ได้รับ การใช้งานอย่างแพร่หลาย จึงเกิดความต้องการที่จะ.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
การสื่อสารข้อมูลทางคอมพิวเตอร์
Fix common PC problems จัดทำโดย เตรียมสถาปัตยกรรมศาสตร์ ปี 1 นาย ภูวิศ นิ่มตระกูล เลขที่ 27 นาย วีรภัทร ท้วมวงษ์ เลขที่ 30.
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ช่วยประหยัดค่าใช้จ่าย จัดทำโดย ด. ช. ธนันทร ดอกเกี๋ยง ม.1/2 เลขที่ 8 ด. ญ. เกศกมล ใจปินตา ม.1/2 เลขที่ 10 เสนอ อาจารย์ อรอุมา.
Information and Communication Technology Lab2
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
S OFTWARE จัดทำโดย นางสาว กนกวรรณ สุขมิลินท์ เลขที่ 34 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3.
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
วิชา. การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในชีวิตประจำวัน บทที่ 2
ประโยชน์และตัวอย่างของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
การสื่อสารข้อมูล.
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
ในเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โปรแกรมประยุกต์ หลายชนิด มีการทำงานร่วมกันระหว่างเครื่อง คอมพิวเตอร์ ที่ต่ออยู่ในเครือข่าย โดยอาศัยเครือข่ายเป็น สื่อกลาง ในการติดต่อสื่อสารระหว่างกันและกัน.
ระบบจัดการพนักงาน E-Clocking. E-clocking Application คืออะไร E-clocking ย่อมาจากคำว่า Easy Clocking ก็คือทำงานและ ดูแลข้อมูลการบริหารบันทึกเวลาการทำงานของพนักงานแบบ.
โปรแกรมสต๊อกสินค้า และ โปรแกรมขายหน้าร้าน Nanosoft Smart INV.NET วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปและการ ประยุกต์ใช้งาน อ. วิสุตร์ เพชรรัตน์
จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนบอกองค์ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ได้ สาระการเรียนรู้ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บุลากร คอมพิวเตอร์ ข้อมูล.
CSIT-URU อ. กฤษณ์ ชัยวัณณคุปต์ Mathematics and Computer Program, URU บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ เทคโนโลยีสารสนเทศ Introduction to Information.
PORTABLE ELECTRONIC DEVICES SECURITY การรักษาความปลอดภัยของข้อมูลในกรณีที่ ใช้อุปกรณ์ที่พกพาได้
วิทยาเขตมีบริการอะไรให้บ้าง การบริการ บัญชีผู้ใช้และรหัสผ่าน สำหรับใช้งาน Internet สามารถ ติดต่อขอ บัญชีผู้ใช้และรหัสผ่าน (Password) ด้วย ตนเอง บัตรประจำตัวพนักงาน.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
บทที่ 3 นักวิเคราะห์ระบบและการ วิเคราะห์ระบบ. 1. นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) 1.1 ความหมายของนักวิเคราะห์ระบบ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis:
เรื่อง ภาษาซีเบื้องต้น จัดทำโดย นางสาวชาดา ศักดิ์บุญญารัตน์
หนังสือ เข้า 1. หน่วยสาร บรรณ หรือ งานธุรการ ระบบสารบรรณกระดาษ - บันทึกรายละเอียดผ่านระบบ - สแกนเอกสารลงระบบ ( กรณีเร่งด่วน ) 2. หน่วยงาน ภายใน - ลงทะเบียนรับผ่านระบบ.
Windows xp starter Edition ซอฟแวร์เพื่อคนไทย ซ. windows xp starter Edition คืออะไร Windows xp Starter Edition เป็นความ ร่วมมือกันระหว่างรัฐบาลไทยกับ ไมโครซอฟท์ที่ต้องการให้ผู้ใช้งาน.
ซอร์ฟแวร์ ( Software ). Microsoft excel Microsoft excel Microsoft power point.. Link Link.
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
เทคโนโลยีพื้นฐานของระบบสารสนเทศ
Material requirements planning (MRP) systems
Android architecture and iOS architecture
By Btech GPS : Jan GPS By BtechGPS By Btech GPS : Jan
การใช้ Social Media เพื่อการสื่อสาร
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
การพัฒนาการใช้งานในระบบเว็บ
Information and Communication Technology Lab2
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part2.
ระบบบริการประชาชน กรมทางหลวงชนบท
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
บทที่ 5 ระบบจัดการฐานข้อมูล
Basic Input Output System
บทที่ 1 ระบบสารสนเทศ (Information System)
ระบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ Electronic Book System
บทที่ 3 แฟ้มข้อมูลและฐานข้อมูล
เทคโนโลยีสารสนเทศ.
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
บทที่ 7 การวิเคราะห์และพัฒนาระบบ
บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ประยุกต์
การบริหารโครงการซอฟต์แวร์
บทที่ 6 แนวคิดเทคโนโลยีเสมือนจริง
บริษัท พัฒนาวิชาการ (2535) จำกัด
ภัยคุกคาม ที่เกิดขึ้นในระบบสารสนเทศ
SMS News Distribute Service
รายวิชา การบริหารการศึกษา
การวิจัยทางการท่องเที่ยว
อินเทอร์เน็ตเบื้องต้น และการออกแบบเว็บไซต์
การใช้งานอินเทอร์เน็ต
กรณีศึกษา : เทคโนโลยีชีวภาพกับสิ่งแวดล้อม
บรรยายโดย คุณครูกิริยา ทิพมาตย์ สพม. เขต 23
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 14 พฤษภาคม 2562
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ซอฟต์แวร์ Software รายวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 3

ความหมายและความสำคัญของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึง ชุดคำสั่งหรือโปรแกรม ที่คอยสั่งการให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงาน รวมไปถึงการควบคุมการ ทำงานของอุปกรณ์แวดล้อมต่างๆ ซอฟต์แวร์เป็นสิ่งที่มองไม่เห็น จับต้องไม่ได้

ความหมายและความสำคัญของซอฟต์แวร์ การสั่งงานใดๆ ให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานตาม ต้องการนั้น ต้องอาศัยซอฟแวร์เป็นตัวเชื่อมระหว่างคนหรือ ผู้ใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ ดังนั้น ซอฟต์แวร์จึงมีความสำคัญ ทัดเทียมกับฮาร์ดแวร์

ประเภทของซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) ซอฟต์แวร์ระบบ (System Software) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) ระบบปฏิบัติการ โปรแกรมแปลภาษา โปรแกรมอรรถประโยชน์ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไป ซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงาน

โปรแกรมแปลภาษา ซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์ระบบ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ระบบปฏิบัติการ โปรแกรมอรรถประโยชน์ ซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไปซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงาน

ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการ (Operating System : OS) เป็น ซอฟต์แวร์ที่ใช้ควบคุมและประสานงานระหว่างอุปกรณ์ภายใน เครื่องคอมพิวเตอร์ทั้งหมด ตั้งแต่ซีพียู หน่วยความจำ ไปจนถึง หน่วยนำเข้าและส่งออก บางครั้งนิยมเรียกรวมๆ ว่า แพลตฟอร์ม

ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ มีดังนี้ 1.การจองและการกำหนดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ 2.การจัดตารางงาน 3.การติดตามผลของระบบ 4.การทำงานหลายโปรแกรมพร้อมกัน 5. การจัดแบ่งเวลา 6. การประมวลผลหลายชุดพร้อมกัน หน้าที่ของระบบปฏิบัติการ มีดังนี้ 1.การจองและการกำหนดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์ 2.การจัดตารางงาน 3.การติดตามผลของระบบ 4.การทำงานหลายโปรแกรมพร้อมกัน 5. การจัดแบ่งเวลา 6. การประมวลผลหลายชุดพร้อมกัน

ตัวอย่างระบบปฏิบัติการที่สำคัญควรรู้ มีดังนี้ 1. ระบบปฏิบัติการไมโครซอฟต์วินโดวส์ (Microsoft Windows) พัฒนาโดยบริษัทไมโครซอฟต์ ระบบปฏิบัติการวินโดวส์ เป็นระบบที่ได้รับความนิยมสูงมากในเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์

ตัวอย่างระบบปฎิบัติการที่สำคัญควรรู้ มีดังนี้ 2. ระบบปฏิบัติการแมคอินทอช (Macintosh Operating System) พัฒนาโดยบริษัทแอปเปิ้ล (Apple) ระบบปฏิบัติการ ของเครื่องคอมพิวเตอร์แมคอินทอช

ตัวอย่างระบบปฎิบัติการที่สำคัญควรรู้ มีดังนี้ 3. ระบบปฏิบัติการลินุกซ์ (Linux) เป็นระบบปฏิบัติการที่ได้รับความนิยมมาก เช่นเดียวกัน พัฒนาขึ้นมาโดย ลินุส ทอวาลดส์ ชาวฟินแลนด์

ตัวอย่างระบบปฏิบัติการที่สำคัญควรรู้ มีดังนี้ 4. ระบบปฏิบัติการวินโดวส์เซิร์ฟเวอร์ (Windows Server) เป็นระบบปฏิบัติการที่ออกแบบมาเพื่อใช้งานกับระบบ เครือข่ายโดยเฉพาะ ผลิตมาเพื่อรองรับการใช้งานในระดับองค์กร ขนาดเล็กและขนาดกลาง

ตัวอย่างระบบปฏิบัติการที่สำคัญควรรู้ มีดังนี้ 5. ระบบปฏิบัติการปาล์ม (Palm OS) เป็นระบบปฏิบัติการที่ถือว่าเกิดขึ้นมาพร้อมๆ กับการ นำเอาคอมพิวเตอร์แบบพกพามาใช้ในยุคแรกๆ ที่เรียกว่า เครื่องปาล์ม พัฒนาขึ้นโดยบริษัทปาล์ม (เครื่องคอมพิวเตอร์ แบบพกพา ทำงานโดยใช้ระบบปฏิบัติการปาล์ม)

ตัวอย่างระบบปฏิบัติการที่สำคัญควรรู้ มีดังนี้ 6. ระบบปฏิบัติการซิมเบียน (Symbian OS) เป็นระบบปฏิบัติการที่พัฒนาโดยบริษัทซิมเบียน ออกแบบมาเพื่อรองรับเทคโนโลยีการสื่อสารแบบไร้สาย โดยเฉพาะกับโทรศัพท์มือถือแบบสมาร์ตโฟน (Smart phone)

ตัวอย่างระบบปฏิบัติการที่สำคัญควรรู้ มีดังนี้ 7. ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ (Android OS) เป็นระบบปฏิบัติการสำหรับอุปกรณ์พกพา เช่น โทรศัพท์มือถือแท็บเล็ตคอมพิวเตอร์ เน็ตบุ๊ก ทำงานบนลินุกซ์ เคอร์เนล

ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ ในการเขียนโปรแกรม โปรแกรมเมอร์จะเขียนโปรแกรมใน ภาษาต่างๆ ตามความชำนาญของแต่ละคน โปรแกรมที่ได้ เรียกว่า รหัสต้นแบบหรือซอร์สโคด ซึ่งมนุษย์จะอ่านได้แต่ คอมพิวเตอร์จะไม่เข้าใจคำสั่งเหล่านั้น เนื่องจากคอมพิวเตอร์ เข้าใจแต่ภาษาเครื่อง ซึ่งประกอบขึ้นจากรหัสฐานสองเท่านั้น จึงต้องมีการใช้โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ ให้เป็นรหัส รูปแบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้ โดยโปรแกรม ที่แปลจากโปรแกรมต้นฉบับแล้วเรียกว่า รหัสจุดหมาย โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ ในการเขียนโปรแกรม โปรแกรมเมอร์จะเขียนโปรแกรมใน ภาษาต่างๆ ตามความชำนาญของแต่ละคน โปรแกรมที่ได้ เรียกว่า รหัสต้นแบบหรือซอร์สโคด ซึ่งมนุษย์จะอ่านได้แต่ คอมพิวเตอร์จะไม่เข้าใจคำสั่งเหล่านั้น เนื่องจากคอมพิวเตอร์ เข้าใจแต่ภาษาเครื่อง ซึ่งประกอบขึ้นจากรหัสฐานสองเท่านั้น จึงต้องมีการใช้โปรแกรมแปลภาษาคอมพิวเตอร์ ให้เป็นรหัส รูปแบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถทำงานได้ โดยโปรแกรม ที่แปลจากโปรแกรมต้นฉบับแล้วเรียกว่า รหัสจุดหมาย

ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ โปรแกรมอรรถประโยชน์ โปรแกรมอรรถประโยชน์หรือโปรแกรมยูทิลิตี เป็น โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่ช่วยสนับสนุน เพิ่มหรือขยายขีด ความสามารถของโปรแกรมที่ใช้งานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โปรแกรมอรรถประโยชน์สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด ได้แก่ โปรแกรมอรรถประโยชน์สำหรับระบบปฏิบัติการ และ โปรแกรมอรรถประโยชน์อื่นๆ โปรแกรมอรรถประโยชน์ โปรแกรมอรรถประโยชน์หรือโปรแกรมยูทิลิตี เป็น โปรแกรมหรือซอฟต์แวร์ที่ช่วยสนับสนุน เพิ่มหรือขยายขีด ความสามารถของโปรแกรมที่ใช้งานให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โปรแกรมอรรถประโยชน์สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ชนิด ได้แก่ โปรแกรมอรรถประโยชน์สำหรับระบบปฏิบัติการ และ โปรแกรมอรรถประโยชน์อื่นๆ

ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ โปรแกรมอรรถประโยชน์สำหรับระบบปฏิบัติการ 1. โปรแกรมอรรถประโยชน์จัดการไฟล์ เป็นโปรแกรมที่ คัดลอก ลบ หรือเรียกใช้งานโปรแกรมต่าง ๆได้อย่างสะดวก

ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ โปรแกรมอรรถประโยชน์สำหรับระบบปฏิบัติการ 2. โปรแกรมยกเลิกการติดตั้งโปรแกรม เป็นโปรแกรมที่ ใช้ยกเลิกโปรแกรมที่ทำการติดตั้งไว้ในระบบ

ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ โปรแกรมอรรถประโยชน์สำหรับระบบปฏิบัติการ 3. โปรแกรมอรรถประโยชน์สแกนดิสก์ เป็นโปรแกรมที่ใช้ ตรวจหาความเสียหายที่เกิดขึ้นกับฮาร์ดดิสก์ ผู้ใช้สามารถ ซ่อมแซมส่วนที่เสียหายได้

ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ โปรแกรมอรรถประโยชน์สำหรับระบบปฏิบัติการ 4. โปรแกรมจัดเรียงพื้นที่ จัดเก็บข้อมูลของฮาร์ดดิสก์ (Disk defragmenter) เพื่อจัดการไฟล์ข้อมูลให้มี ระเบียบมากขึ้น เพื่อช่วยให้ การเข้าถึงข้อมูลได้ง่ายและ รวดเร็ว

ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ โปรแกรมอรรถประโยชน์สำหรับระบบปฏิบัติการ 5. โปรแกรมรักษาหน้าจอ (Screen saver) เพื่อช่วยรักษาประสิทธิภาพในการใช้งานของหน้าจอให้ดีและใช้ งานได้นานยิ่งขึ้น

ซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ โปรแกรมอรรถประโยชน์อื่นๆ 1.โปรแกรมป้องกันไวรัส 2.โปรแกรมไฟล์วอลล์ 3.โปรแกรมบีบอัดไฟล์ (Zip file)

ซอฟต์แวร์ประยุกต์ช่วยในการทำงาน ซอฟต์แวร์ประยุกต์ คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรม ซึ่งเขียนขึ้นเพื่อการทำงานเฉพาะอย่างที่เราต้องการ ซึ่ง สามารถแบ่งออกเป็น 2 ปะเภท ซอฟต์แวร์ประยุกต์ทั่วไปซอฟต์แวร์ประยุกต์เฉพาะงาน

1. ซอฟต์แวร์ประมวลผลคำ 2. ซอฟต์แวร์ตารางทำงาน 3. ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล Access

4. ซอฟต์แวร์นำเสนอ 5. ซอฟต์แวร์ทางด้านกราฟฟิค และมัตติมีเดีย 6. ซอฟต์แวร์การใช้งานบน เว็บไซต์และการติดต่อสื่อสาร

ซอฟต์แวร์สำหรับงานธุรกิจ ซอฟต์แวร์สำหรับงานธุรกิจเน้นการใช้งานทั่วไป เช่น งาน ธนาคาร ระบบงานสินค้าคงคลัง ระบบงานบริหารการเงิน ซอฟต์แวร์อื่นๆ เช่นโปรแกรมช่วยค้นหาคำศัพท์ โปรแกรมเพื่อความบันเทิง เป็นต้น

โปรแกรมบริหารงานธุรกิจรับชั่งน้ำหนัก

โปรแกรมช่วยค้นหาคำศํพท์