ประเด็นบรรยาย ๑. ทำไมต้อง “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ๒. นโยบายของโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ๓. ผล O-net ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
องค์ประกอบของกระบวนการเรียนการสอน
Advertisements

ความฝันเกี่ยวกับ นศ. มหิดล
การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน การสอน
รศ.ดร.เทียมจันทร์ พานิชย์ผลินไชย
การศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับศตวรรษที่ ๒๑
การปฏิรูปอุดมศึกษาไทยและความสำคัญของ Learning Outcome Assessment
เวชจริยศาสตร์และการคิดเชิงวิพากษ์
การผลิตบัณฑิตกับวิชาการสายรับใช้สังคม
ผศ.ดร.อังสนา บุญธรรม ภาควิชาอนามัยชุมชน คณะสาธารณสุขศาสตร์ ม.มหิดล
การนำผลการประเมินหลักสูตรไปใช้
การเรียนการสอนในศตวรรษที่ ๒๑
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
การประเมินผลระหว่างเรียนที่ ส่งเสริมการสอนของครูและ การเรียนรู้ของนักเรียนใน ศตวรรษที่ 21.
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
ทิศทางและนโยบายการจัดการศึกษา 2556 วิสัยทัศน์ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็น องค์กรหลักขับเคลื่อน คุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของประเทศไทยให้ได้มาตรฐานสากล.
แนวทางการบริหารจัดการเวลาเรียน “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
ศาสตราจารย์ ดร. ชุติมา สัจจานันท์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
LOGO แนวทางการดำเนินงานการจัดการศึกษาตาม หลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ( ปรับปรุง 2559)
เข้าสู่ วิชา การงานอาชีพ จัดทำโดย ด. ญ. สุชัญญา เขียวสมอ ม.1/14 เลขที่ 38 ด. ญ. พรรณวษา ยาวะระ ม.1/14 เลขที่ 32 นำเสนอ อาจารย์ ฐิตาพร ดวงเกตุ โรงเรียนวินิตศึกษา.
ผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียน ปีการศึกษา 2557 NT ป.3 O-NET ป. 6 O-NET ม. 3 NT ป.3 O-NET ป. 6 O-NET ม. 3.
1. ตระหนักในคุณค่าของ คุณธรรมจริยธรรม
การประชุมเชิงปฏิบัติการ การออกแบบการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานกำหนดตำแหน่ง กับการบรรจุแต่งตั้ง.
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีและนวัตกรรมการศึกษา
การเรียนรู้โดยใช้โครงการเป็นฐาน (Project based Learning : PBL)
ประชุมผู้บริหารการศึกษา และผู้บริหารสถานศึกษา
การลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ Moderate Class More Knowledge
แนวทางการดำเนินงาน โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่าย ในการจัดการศึกษา ตั้งแต่ระดับอนุบาล จนจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ 2560.
โรงเรียนในเตาพิทยาคม อำเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง
สะเต็มศึกษา: นวัตกรรมการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
มหาวิทยาลัยราชภัฏเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นตามพระบรมราโชบาย
การทำงานเป็นทีม.
ณ นริศภูวิว รีสอร์ท ตำบลย่านซื่อ อำเภอควนโดน จังหวัดสตูล
กฎหมายข้าราชการพลเรือน ผู้อำนวยการสำนักกฎหมาย สำนักงาน ก.พ.
คุณลักษณะของครู กทม. ในศตวรรษที่ 21
learning theory ทฤษฎีการเรียนรู้
กฎหมายการศึกษาไทย.
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
แนวทางขับเคลื่อนการดำเนินงาน 4 ศูนย์เรียนรู้
ระเบียบวาระการประชุม วันพุธที่ ๒๗ เดือน มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๑
ณ ห้องประชุมศาสตราจารย์ ดร. กานดา ณ ถลาง
สมรรถนะ (Competency) สมรรถนะ (Competency) โดย รศ.สุรชัย ขวัญเมือง
ระบบการประกันคุณภาพอาชีวศึกษา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1
การปฏิรูปการศึกษาเพื่อพัฒนาคนอย่างยั่งยืน พ.ศ
การแนะแนวอาชีพในศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
โดย ดร.ปราณี คงพิกุล ผอ.กลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา
แนวคิดเรื่องการรู้สารสนเทศ
ปฏิรูปการเรียนรู้ ครูและผู้เรียน ด้วย Active Learning PLC และการนิเทศ
นายดำหริ งิมสันเทียะ ผอ.สพป.อย.1
ดร.ศรีวรรณ ฉัตรสุริยวงศ์ ครูเชี่ยวชาญ (คศ.4)
ประชุมเชิงปฏิบัติ การบริหารการเปลี่ยนแปลงกรมอนามัย มุ่งสู่องค์กรนำด้านส่งเสริมสุขภาพและ อนามัยสิ่งแวดล้อม นายแพทย์วชิระ เพ็งจันทร์ อธิบดีกรมอนามัย วันที่
พื้นที่และ เส้นรอบรูปวงกลม.
Career Path บุคลากรสายงานกิจการนิสิต
แผนยุทธศาสตร์ ๑๐ ปี มน. พ.ศ.๒๕๖๐ – ๒๕๖๙ เตรียมพัฒนานิสิตสู่ประชาคมโลก
สังกัด วิทยาลัยเทคโนโลยีสยามบริหารธุรกิจ (SBAC)
ดร.ภาสกร พงษ์สิทธากร ผู้อำนวยการศูนย์พัฒนาการนิเทศและเร่งรัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน สพฐ.
Thailand 4.0 บทที่ 3 ซอฟต์แวร์ (Software).
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
พลวัตโลกในศตวรรษที่ 21 ปฏิรูปการศึกษา : เตรียมคนไทย 4.0
สารสนเทศ และการรู้สารสนเทศ
12-13 พฤษภาคม 2561 ณ หอประชุมภัคพิพิธ โรงเรียนหาดใหญ่วิทยาลัย ๒
รูปทรงสี่เหลี่ยมมุมฉาก
Skills of 21st century learning ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 3Rs X 7Cs (เรียนรู้ตลอดชีวิต) Reading ’Riting (Writing) ’Rithmetic (Arithmetic) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ.
การพัฒนาทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
บรรยายโดย พันเอก ณัฐพงษ์ เพราแก้ว
สรุปผลการดำเนินงาน โครงการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและการพัฒนาท้องถิ่น โดยมีสถาบันอุดมศึกษาเป็นพี่เลี้ยง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

ประเด็นบรรยาย ๑. ทำไมต้อง “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” ๒. นโยบายของโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ๓. ผล O-net ของโรงเรียนที่เข้าร่วมโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้ ๔. ปัจจัยที่ต้องคำนึงถึงในโครงการ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้

ทำไมต้อง “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้”

การบ้านมาก นักเรียนเครียด ทำไมต้อง “ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้” นักเรียนเรียนในห้องเรียนมากเกินไป การเรียนการสอนไม่ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ ไม่ตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน

ความต้องการของตลาดแรงงานความต้องการของตลาดแรงงานที่มีทักษะเพิ่มมากขึ้น ความต้องการแรงงานที่มีทักษะใหม่ๆ ความต้องการแรงงานที่มีทักษะใหม่ๆ แรงงานที่มีความชำนาญด้านเทคโนโลยีส่งผลต่อการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แรงงานที่มีความชำนาญด้านเทคโนโลยีส่งผลต่อการ เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ นานาประเทศกำลังแข่งขันกันด้านการพัฒนาทักษะ แรงงาน

นโยบายของโครงการ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้

ใช้แนวทางพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว “ให้ครูรักเด็กและเด็กรักครู” “ให้ครูสอนเด็กให้มีน้ำใจต่อเพื่อนไม่ให้แข่งขันกัน แต่ให้แข่งกับตัวเองให้เด็กที่เรียนเก่งกว่าช่วยสอน เพื่อนที่เรียนช้ากว่า” “ให้ครูจัดกิจกรรมให้เด็กทำร่วมกันเพื่อให้เห็นคุณค่า ของความสามัคคี”

นโยบายรัฐบาล และ นรม. 1) เร่งปรับหลักสูตร/ตำราแต่ละกลุ่มให้เหมาะสม 2) ปรับหลักสูตร ทำให้เด็ก ครู ผู้ปกครองมีความสุข 3) ใช้สื่อการสอนกระตุ้นผู้เรียนเพื่อสร้างแรงจูงใจในการ เรียนรู้กับเด็ก 4) ลดความเหลื่อมล้ำ จัดการศึกษาให้ทั่วถึง เท่าเทียม และมีคุณภาพ 5) เรียนไม่ใช่เพื่อสอบ แต่เรียนให้ได้ทักษะชีวิตอยู่ในยุค โลกไร้พรมแดน

ผล O-net ของโรงเรียน ที่เข้าร่วมโครงการ ลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้

เปรียบเทียบ ป.6 จำนวน 3,428 โรงเรียน เปรียบเทียบ ม.3 จำนวน 1,801 โรงเรียน เปรียบเทียบ เฉพาะ รร.ที่มีผล O-NET ปี 2557

การดำเนินการเรื่อง O-NET ในปี 2559 ผล O-NET จะชัดเจน ครูจะรู้ TEST BLUEPRINT ที่ใช้ในการสอบ การสอบจะสอดคล้องกับสิ่งที่ครูสอน(ตามหลักสูตร แกนกลาง) สอบเฉพาะสิ่งที่ “ต้องรู้”

ผลการดำเนินงาน (พ.ย.2558 – ก.พ.2559) สถานศึกษาจัดกิจกรรมครอบคลุม 4 H ผู้ปกครองชุมชนตื่นตัว ชุมชนหน่วยงานอื่น เข้ามามีส่วนร่วม นักเรียน ครู ร่วมกิจกรรมอย่างมีความสุข นักเรียนมีความสุข ตื่นตัว สถานศึกษามีความพร้อม 89.20% 97.13% 95.52% 47.78% 65.91% 100%

AAR การดำเนินงานที่ผ่านมา และข้อเสนอแนะ

โรงเรียนเข้าร่วมโครงการ 15,342 คน

ปัจจัยที่ต้องคำนึงถึงในโครงการ ลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้

กิจกรรม ครู การเรียนการสอน ในกิจกรรม นักเรียน แหล่งเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ สื่อในรูปแบบต่างๆ สื่อในรูปแบบต่างๆ inspiration inspiration motivation motivation facilitator facilitator learner learner เน้นองค์ความรู้ที่ จำเป็นในศตวรรษ ที่ 21 เน้นองค์ความรู้ที่ จำเป็นในศตวรรษ ที่ 21 เน้นการเรียนรู้ ด้วยตนเอง เน้นการเรียนรู้ ด้วยตนเอง เรียนเพื่อ นำไปใช้ เรียนเพื่อ นำไปใช้ STEM STEM

ทักษะของเด็กในศตวรรษที่ 21 Arithmetic Writing Reading ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation) ทักษะด้านความเข้าใจต่างวัฒนธรรมต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding) ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ (Collaboration, Teamwork and Leadership) ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy) ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy) ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning Skills) ความมีเมตตากรุณา (Compassion) (วินัย, คุณธรรม, จริยธรรม ฯลฯ) ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการแก้ปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving ) 3R x 8C

ความสัมพันธ์ 3 H Head Heart Hand