เตชิษฐ์ เรือง ไพศาล.  คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ไฟฟ้า กระแสตรงทำงาน  ข้อมูลภายในเป็นข้อมูลดิจิตอล  01100111000…..  แทนข้อมูลเหล่านี้ด้วยแรงดันไฟฟ้า.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
บทที่ 2 การทำงานของ PC.
Advertisements

การทำงานของคอมพิวเตอร์
เรื่อง แนวทางการเลือกซื้อคอมพิวเตอร์
ซอฟแวร์ SOFTWARE น า ง ส า ว ฐ ิ ติ ม า น า ม ว ง ศ์ เ ล ข ที่ 4 3 ชั้ น ม. 4 / 7.
ไปที่ 7  ก่อนเริ่มต้นใช้งานโปรแกรม Microsoft Word เพื่อสร้าง เอกสารรายงานต่าง ๆ เราจำเป็นต้องรู้ วิธีการเรียกใช้งาน ที่ถูกต้อง เพื่อให้ใช้ โปรแกรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ.
วิธีติดตั้งเครื่องพิมพ์ Pinter Driver Printer คืออะไร Driver Printer คือโปรแกรมที่ใช้สำหรับการบริหารจัดการ printer ให้สามารถใช้งานได้เต็มประสิทธิภาพ ??
ชื่อผู้สอน : นางฐิติมา พิริยะ
เทคโนโลยีสมัยใหม่ วิธีการอัดเกรด iPhone,iPhone touch เป็น ios5 เรื่อง.
จัดทำโดย น. ส. ดวงกมล งามอยู่เจริญ เลขที่ 8 น. ส. ณัชชา เชื้อตา เลขที่ 6 เตรียมบริหารธุรกิจปี 1.
การจัดสเปกคอมพิวเตอร์
Sc B011 Software ที่สนใจ. sc B012 VCD Cutter โปรแกรม ตัด - ต่อ VCD เฉพาะส่วนที่ ต้องการแบบง่าย ๆ.
Information and Communication Technology Lab2
หน่วยที่ 3 ภาษาคำสั่งพื้นฐานที่ใช้เขียนโปรแกรม PLC
ซอฟต์แวร์ระบบที่รู้จักกันดี คือซอฟต์แวร์ควบคุมการปฏิบัติการ ของคอมพิวเตอร์ที่เรียกว่า ระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการเป็นชุดคำสั่งที่ใช้ควบคุมระบบฮาร์ดแวร์และ.
Windows Update settings.  เพื่อช่วยให้ windows ของ pc นั้น มีปลอดภัยยิ่งกว่าเดิม และทำงานได้ราบรื่น และจะได้รับการปรับปรุงความ ปลอดภัย ( Security ) ล่าสุดและแก้
โดย คุณครูนัฏฐา อัครวงษ์ โรงเรียนวังข่อยพิทยา
รูปร่างของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
กาญจนา ทองบุญนาค สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กระบวนการของการอธิบาย
ซอฟต์แวร์และการเลือกใช้
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
การรักษาความปลอดภัยข้อมูลขั้นพื้นฐาน
ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ใช้เพื่อคลิ๊กไปสู่ หน้าถัดไป ใช้เพื่อคลิ๊กกลับ หน้าเดิม ใช้เพื่อคลิ๊กกลับสู่ หน้าหลัก ใช้คลิ๊กเมื่อต้องการ ออกจากระบบ.
แบบทดสอบ ก่อนเรียน – หลัง เรียน (Pre – Test) กลับ หน้า หลัก เริ่มทำ ข้อสอบ.
จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนบอกองค์ประกอบของระบบ คอมพิวเตอร์ได้ สาระการเรียนรู้ ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ บุลากร คอมพิวเตอร์ ข้อมูล.
นาย สรวิศ เตธัญญวรากูล ปวช.3/2 นาย ศิวกร มาลี ปวช.3/2.
วิธีการเลือกซื้อ คอมพิวเตอร์. เนื้อหาในส่วนนี้จะให้รายระเอียดและขั้นตอน ในการเลือกซื้อ เครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อให้เราได้เครื่อง คอมพิวเตอร์ที่ตรงกับความ.
LOGO ภาษาซี 1.1 อ. กฤติเดช จินดาภัทร์. LOGO ตัวอย่างโค้ดภาษาซี
งานวิชา เทคโนโลยี สารสนเทศ 4/3 เรื่อง INPUT และ OUTPUT จัดทำโดย นาย ชาญชัย ศรีน้อย เลขที่ 3 นาย ณัฐดนัย จันทมาศ เลขที่ 4 นาย อุดมศักดิ์ เกื้อนะ เลขที่
Input Output อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ เสนอ อ. อภิเดช จิตมุ่ง โดย นางสาว ผกาวดี ช่วงชุณส่อง เลขที่ 43 นางสาว ธนาภรณ์ คำเรือง เลขที่ 39 นางสาว ณัฐวรรณ ห่วงกลาง.
เทคนิคการสร้าง ภาพเคลื่อนไหว คอมพิวเตอร์ Computer Animation ง
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
การจัดการโปรเซส T.Kunlaya Charoenmongkonvilai
stack #2 ผู้สอน อาจารย์ ยืนยง กันทะเนตร
อบรมการใช้คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
IP-Addressing and Subneting
IP-Addressing and Subneting
บทที่ 1 สถาปัตยกรรมของระบบฐานข้อมูล (Database Architecture)
ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ (Personal Computer : PC)
Information and Communication Technology Lab2
เรียนรู้การใช้งานโปรแกรม เพื่อจำลองระบบไมโครคอนโทรลเลอร์
ดิจิตอล + เลขฐาน บทที่ 2.
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ บทที่ 4 : สื่อกลางส่งข้อมูลและการมัลติเพล็กซ์ (Transmission Media and Multiplexing) Part3 สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
ไมโครคอนโทรลเลอร์ บทที่ 11.
โครงสร้างภาษา C Arduino
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
1.เครื่องทวนสัญญาณ (Repeater)
บทที่ 1 โครงสร้างคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
Basic Input Output System
บทที่ 8 การควบคุมโครงการ
รายวิชา ไมโครโปรเซสเซอร์ในงานอุตสาหกรรม
บทที่ 8 การควบคุมระบบสารสนเทศทางการบัญชี : การควบคุมเฉพาะระบบงาน
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
ติดตั้งโปรแกรม คลายไฟล์ zip แล้ว อ่านคำแนะตำติดตั้งในไฟล์ readme.txt
เครื่องบันทึกและถอดข้อความ
รูปแบบ และ ประโยชน์การขายสินค้าออนไลน์
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ ปฏิบัติการที่ 1 : การสร้างการเชื่อมต่อบนอุปกรณ์แอคเซสพอยต์ไร้สาย สธ313 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทางธุรกิจ.
บทที่ 3 : รูปแบบการเชื่อมต่อเครือข่ายและส่วนประกอบของเครือข่ายท้องถิ่น (Topologies and LAN Components) Part1.
บทที่ 8 การแก้ไขข้อผิดพลาดโปรแกรม(Debugging)
โครงสร้างคอมพิวเตอร์ (Computer Organization)
การจัดบล๊อคและบัฟเฟอร์ (Blocking and Buffering)
ระบบสำนักงานอัตโนมัติ (Office Automation : OA)
การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพทอน การเขียนโปรแกรมแบบทางเลือก
บทที่ 5 พัลส์เทคนิค
หลักสูตรการบำรุงรักษาระบบโทรศัพท์
Decision: Single and Double Selection (if and if-else statement)
เมนูหลัก ส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์ ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ ปฏิบัติการที่ 3 : การตั้งค่าอุปกรณ์แอคเซสพอยต์ไร้สาย วค101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ อาจารย์อภิพงศ์
กระดาษทำการ (หลักการและภาคปฏิบัติ)
ใบสำเนางานนำเสนอ:

เตชิษฐ์ เรือง ไพศาล

 คอมพิวเตอร์เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ใช้ไฟฟ้า กระแสตรงทำงาน  ข้อมูลภายในเป็นข้อมูลดิจิตอล  …..  แทนข้อมูลเหล่านี้ด้วยแรงดันไฟฟ้า  ข้อมูลเหล่านี้เป็นคำสั่งและข้อมูลให้แก่ โปรแกรมต่างๆ คอมพิวเตอร์ทำงานได้อย่างไร

 เริ่มเปิดเครื่อง  ไฟฟ้าวิ่งเข้าไปใน Power Supply ผ่านไปบน เมนบอร์ด  CPU เริ่มทำงานที่ตำแหน่งของ BIOS  BIOS เริ่มทำงาน ทำการตรวจสอบฮาร์ดแวร์ พื้นฐานต่างๆ  VGA, RAM, H.D., F.D., ค่า Config ใน CMOS  ค้นหา Bootstrap Program ใน Master Boot Record  โหลดข้อมูลจาก Master Boot Record เพื่อ โหลด O.S.  O.S. เริ่มทำงาน เมื่อเริ่มเปิดเครื่อง

 รอรับอินพุทจากผู้ใช้ Command Line, Graphic  ทำงานตามคำสั่งนั้น  รันโปรแกรมต่างๆ  ควบคุมฮาร์ดแวร์  เรื่องความปลอดภัย, ความถูกต้องของข้อมูล, เสถียรภาพ  จะทำงาน โดยวนรอบไปเรื่อยๆจนกว่าจะ Shutdown  ดังนั้น OS ก็เป็นโปรแกรมเหมือนกัน แต่จะได้ ทำงานบ่อยครั้งที่สุด เมื่อ OS ทำงาน

 BIOS เป็น Chip ตัวหนึ่งที่อยู่บน Mainboard  หน้าที่ของมันได้แก่ การทำงานของ BIOS

 เป็นการทดสอบระบบสำหรับส่วนที่จำเป็น สำหรับการทำงานของ PC  เมื่อเปิดเครื่องจะเริ่มเข้าสู่ขั้นตอนของ POST ก่อน POST (POWER-ON SELF TEST) VGA -> RAM ->Keyboard->….

 หลังจากที่ POST ทำงานเสร็จแล้ว BIOS ก็ จะอ่านค่าการเซ็ทต่างๆจาก CMOS เพื่อ กำหนด Configuration ต่างๆให้กับระบบ การทำงานของโปรแกรม SETUP

 BIOS จะโหลดโปรแกรมใน ROM ของตนเอง เข้าไปใน RAM แล้วทำงานแบบ Resident ( อยู่ใน RAM ตลอด )  Interrupt Vector  โปรแกรมที่ใช้ติดต่อกับฮาร์ดแวร์พื้นฐานในระดับ ล่าง (System Call) BIOS PROGRAM

 เมื่อรันการทำงานของโปรแกรม Setup แล้ว ก็จะเข้าสู่การบูท (Bootstrap) โดยจะมี หลักการดังนี้  1. อ่านโปรแกรมที่ Sector แรกของสื่อ (Disk) (Boot Sector) เข้ามาไว้ใน RAM แล้วให้ CPU ทำงาน  2. โปรแกรมใน Boot Sector เรียกว่า Master Boot Record จะทำการบอกตำแหน่ง ของ OS. ในดิสก์ที่จะโหลดเข้ามาใน RAM แล้วเริ่มทำงาน  หลังจากนี้ก็จะเป็นการทำงานของ O.S. ส่วน โปรแกรมหรือ OS สามารถเรียกใช้งาน BIOS ได้จาก Interrupt Vector และ BIOS Program การบูท

การเคลื่อนที่ของข้อมูลในระบบ หลังการบูท

 มี 2 ประเภท  System Bus (CPU RAM)  I/O Bus (I/O CPU) ระบบบัส

 ติดต่อระหว่างอุปกรณ์ I/O กับ CPU  มี 3 ประเภท ( ที่นิยม )  PCI  USB  SATA I/O BUS

การทำงานของ I/O BUS

 การติดต่อระหว่าง I/O กับ CPU เพื่อรับ / ส่ง ข้อมูลนี้จะเป็นการติดต่อแบบ Interrupt เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพให้กับการทำงาน  เนื่องจาก CPU ทำงานเร็วกว่า I/O มาก ดังนั้น เมื่อ I/O ต้องการติดต่อกับ CPU ก็จะ ส่งสัญญาณมาบอกกับ CPU และ CPU จะ หยุดงานที่กำลังทำอยู่เพื่อให้บริการ I/O ตัว นั้น การอินเทอร์รัพท์ CPU I/O Hey I want to send some. INT. O.K.

 IRQ (Interrupt Request Number) เป็น หลายเลขที่แสดงว่า “ ใคร ” เป็นผู้ Interrupt เข้ามา  หากไม่มี IRQ CPU ก็จะไม่รู้ว่าใครเรียกมา  IRQ มีค่ามาตรฐานสำหรับอุปกรณ์พื้นฐานเช่น Keyboard  หากเป็นอุปกรณ์เพิ่มเติมในสมัยก่อนเรา จะต้องเซ็ทเอง โดยการเซ็ท IRQ จะเซ็ทจาก Jumper ที่ตัวอุปกรณ์  หากเป็นสมัยนี้ที่เป็น Plug & Play ไม่ต้องทำ แบบเดิม OS จะกำหนดให้เราเอง IRQ หมายเลขแสดงการอิน เทอร์รัพท์

 Start->Settings->Control Panel- >System สามารถดู IRQ ได้ใน CONTROL PANEL

การ CONFLICT ของ IRQ

 อุปกรณ์ I/O ทุกตัวจะมี Controller ของ ตนเอง ซึ่งเป็นฮาร์ดแวร์ที่ควบคุมการทำงาน ระดับไฟฟ้าและกลไกของอุปกรณ์  Device Driver เป็นโปรแกรมที่ควบคุม อุปกรณ์ I/O อีกทีหนึ่ง ( สั่งงานผ่าน Controller นั่นเอง )  อุปกรณ์พื้นฐานไม่ต้องติดตั้ง Driver เพราะ อยู่ในโปรแกรม BIOS อยู่แล้ว  อุปกรณ์ที่เราต่อเพิ่มจะต้องติดตั้งโปรแกรม Driver DEVICE DRIVER

การทำงานแบบเป็นระดับชั้น ของ PC Programs Library O.S. Driver Hardware Function Call System Call Controller

 เมื่อเราเปิดโปรแกรมใดๆ ให้ทำงาน มันจะโหลด คำสั่งและข้อมูลเข้าไปใน RAM และสั่งงาน CPU ให้ ทำงาน  ดังนั้น หากเราเปิด โปรแกรมขึ้นมาหลาย โปรแกรมระบบก็จะช้าลง เพราะ RAM เริ่มเต็ม  เมื่อ RAM เต็มจะใช้ Harddisk เข้ามาช่วย ( เรียกว่า Paging) เมื่อโปรแกรมทำงาน

พอร์ท

 CPU จะติดต่อกับ I/O แต่ละตัวผ่านทาง Address เหล่านี้  ดูได้ใน Control Panel I/O ADDRESS

Q & A