1 ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนา มัย ด้านการยศาสตร์ เรื่องท่าทางการทำงานที่ถูก หลักการยศาสตร์ จัดทำโดย กรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงาน สนับสนุนโดยสำนักงานประกันสังคม.

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
พัฒนาระบบบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร(บูรณาการกระทรวง)
Advertisements

การแลกเปลี่ยน เรียนรู้ ด้านเฝ้าระวัง การ ป้องกัน ควบคุมโรคและภัย สุขภาพ ระหว่างจังหวัดและ สคร.8 วันที่ 1 ธันวาคม 2552 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครสวรรค์
นักทรัพยากรบุคคล ชำนาญการพิเศษ
คำถามตามเกณฑ์ PMQA:105คำถาม หมวด1 12คำถาม.

ผู้วิจัย : นางธนิตา ขาวทอง วิทยาลัยอาชีวศึกษาบริหารธุรกิจวิทยา สงขลา
ระบบประเมินผลผู้บริหาร
S m a r t O f f i c e สำนักงานเกษตรอำเภอมหาชนะชัย จังหวัดยโสธร
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
การวิเคราะห์และปรับปรุงสภาพการทำงานตามหลักการยศาสตร์
พยาบาลวิชาชีพชำนาญการพิเศษ
การประเมินผลโครงการ คปสอ.คลองใหญ่.
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิชาการใช้โปรแกรมนำเสนอข้อมูล เรื่องการเชื่อมโยง ภาพนิ่ง ด้วยโปรแกรม Powerpoint2007 โดยใช้ สื่อคอมพิวเตอร์ช่วยสอน CAI ของนักเรียนระดับชั้น.
การวางแผน การศึกษาระดับ จุลภาค Micro Planning.  ความเชื่อพื้นฐานทางการวางแผน การศึกษา  การวางแผนก็เปรียบเสมือนการจัดให้มี แนวปฏิบัติว่าในระยะเวลาหนึ่งจะต้องทำ.
การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่อง หลักการทำงานของคอมพิวเตอร์ วิชาคอมพิวเตอร์พื้นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนเฉลิมราชประชาอุทิศ.
1 ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนา มัย ด้านการยศาสตร์ เรื่อง การบริหารร่างกายระหว่างการ ทำงาน เพื่อยืดและผ่อนคลายกล้ามเนื้อ จัดทำโดย กรมสวัสดิการและคุ้มครอง.
มอบนโยบายการบริหารราชการให้กับหัวหน้าสถานีตำรวจ วันอังคารที่ 2 ๑ มิ. ย.59 เวลา น. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ
โครงการส่งเสริมการหยุดการ เผาในพื้นที่การเกษตร ปี 2559 กองส่งเสริมโครงการพระราชดำริ การจัดการพื้นที่และ วิศวกรรมเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร.
1. ด้าน หลักสูตร. จุดเน้นกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ คุณภาพผู้เรียน “ คุณภาพผู้เรียน ที่ระบุในจุดเน้นมีอยู่ แล้วในหลักสูตร.
ปรานอม ประทีปทวี 25/09/591 หน้าที่ของครูผู้นิเทศ สพม.5.
ร่างกายและสมองของนักเรียน รักษาไว้ให้แข็งแรง
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
การพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงาน (Quality of Work Life)
มาตรฐานระบบการบริหารงานคุณภาพ
การยศาสตร์ (Ergonomics)
แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านการยศาสตร์
โรคจากการประกอบอาชีพ และการควบคุม (Occupational Disease and Control
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านการยศาสตร์
ข้อกำหนด/มาตรฐาน ด้านสุขาภิบาลอาหาร
ประเภทที่ ๑ วิจัยในชั้นเรียน.
กรณีศึกษา : นักเรียน ระดับ ปวช.2 สาขาวิชาการบัญชี
ข่าวประชาสัมพันธ์สำนักงานเกษตรจังหวัดสุโขทัย
ระเบียบวาระที่ 3 เรื่องเพื่อทราบ
การประเมินวิทยฐานะ (ว 21/2560)
ขั้นตอนการออกแบบ ผังงาน (Flow Chart)
จุดหมุน สมดุลและโมเมนต์
ผลการดำเนินงาน การบริหารจัดการประเมิน และดูแลผู้ป่วยก่อนกลับเข้าทำงาน
เรื่อง อันตรายของเสียง
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมที่ปลอดภัยจากความเมื่อยล้าในการทำงาน
การขอรับรองมาตรฐานฝีมือแรงงาน ตามมาตรา 26
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ณ ห้องประชุมกำธร สุวรรณกิจ
ผลของการจัดท่าคลอดแบบ semi-squatting
เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย
การเขียนเกณฑ์การให้คะแนน
มาทำความรู้จักกับ เห็ดหนังช้าง.
ความปลอดภัยด้านอาหารและน้ำ
สัมมนาเชิงปฏิบัติการหลักสูตรการฝึกยกระดับฝีมือแรงงาน
แบบฟอร์มที่ 2 ลักษณะสำคัญขององค์การ
จุดมุ่งหมายทางการศึกษา และ จุดประสงค์การเรียนรู้
แนวคิดทฤษฎี ที่เกี่ยวกับการประเมินภาคปฏิบัติ
การวัดพฤติกรรมทางด้านทักษะพิสัย
กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
หัวใจหยุดเต้น หยุดหายใจ ปั๊มหัวใจ ทำอย่างไร ?
งานนำเสนอสำหรับโครงการ นิทรรศการวิทยาศาสตร์
โครงการยกระดับคุณภาพผู้เรียน ในการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ (NT/O-NET)
Supply Chain Management
ชัยพฤกษ์รัตนาธิเบศร์ - วงแหวน
สถาบันพัฒนาอนามัยเด็กแห่งชาติ
สรุปผลการปฏิบัติงานประจำเดือน สิงหาคม 2559
วิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการเชียงใหม่
แนวทางการดำเนินงานประเมินความเสี่ยงบุคลากรในโรงพยาบาล
MTRD 427 Radiation rotection - RSO
Welcome.. ข่าวประชาสัมพันธ์ กองคลัง สาระน่ารู้
แบบฟอร์มที่ 2ลักษณะสำคัญขององค์การ
หน่วยที่ 4 การสร้างเครื่องมือ
ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนา มัย ด้านการยศาสตร์ เรื่องท่าทางการทำงานที่ถูก หลักการยศาสตร์ จัดทำโดย กรมสวัสดิการและคุ้มครอง แรงงาน สนับสนุนโดยสำนักงานประกันสังคม

ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านการย ศาสตร์ 2 วัตถุประสงค์ 1. ระบุอันตรายจากท่าทางการทำงานที่ ไม่เหมาะสมได้ 2. อธิบายท่านั่งทำงานที่ถูกหลักการย ศาสตร์ได้ 3. อธิบายท่ายืนทำงานที่ถูกหลักการย ศาสตร์ได้

ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านการย ศาสตร์ 3 การทดสอบความรู้ ก่อนเรียน

ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านการย ศาสตร์ 4 ท่าทางการทำงานที่ถูกหลักการย ศาสตร์ ภาพนั่ง / ยืน ที่ถูกหลักการยศาสตร์ ภาพนั่ง / ยืน ที่ถูกหลักการยศาสตร์

ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านการย ศาสตร์ 5

6

7 อันตรายจากท่าทางการทำงานที่ ไม่เหมาะสม : 1) อันตรายต่อกล้ามเนื้อ ข้อต่อ และเส้น เอ็น 2) อันตรายต่อเส้นเลือดและเส้นประสาท 3) อันตรายต่ออวัยวะภายใน 4) ประสิทธิภาพในการทำงานลดลง

ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านการย ศาสตร์ 8 การอักเสบและใยพังผืดที่มาเกาะ บริเวณข้อไหล่ ทำให้ข้อไหล่ติด และเคลื่อนไหวได้ลำบาก ข้อไหล่ที่ อักเสบและมี การหนาตัว ของเยื่อหุ้ม ข้อ ผู้ป่วยข้อไหล่ติดจะ ปวดไหล่มากเมื่อยก มือเอื้อมไปด้านหลัง

ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านการย ศาสตร์ 9 เส้นประสาท มีเดียน เส้นประสาทมีเดียนที่ถูกบีบรัดทำให้ชาบริเวณฝ่ามือ นิ้วหัวแม่มือ นิ้วชี้ นิ้วกลาง และครึ่งหนึ่งของนิ้วนาง กลุ่มอาการเส้นประสาทถูกกดทับที่ ข้อมือ

ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านการย ศาสตร์ 10 อันตรายจากท่าทางการทำงานที่ไม่เหมาะสม อาจปรับปรุงแก้ไขได้โดยใช้การย ศาสตร์ : วิทยาการในการจัดสภาพงาน ให้เหมาะสมกับผู้ปฏิบัติงาน

ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านการย ศาสตร์ 11 ภาพแสดงกฎของข้อศอกงาน นั่ง ระดับ ศอก

ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านการย ศาสตร์ 12 ภาพแสดงกฎของข้อศอกงานยืน ระดับ ศอก

ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านการย ศาสตร์ 13 ท่านั่งทำงานที่ถูกหลักการย ศาสตร์ 1) สภาพงาน : - ความสูงของงานอยู่ระดับข้อศอก - เก้าอี้ปรับความสูงได้ มีพนักพิง และ ควรมีที่พักแขน - มีบริเวณสำหรับสอดเข่า - ควรมีที่วางเท้าอย่างเหมาะสม

ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านการย ศาสตร์ 14 หน้าจอ ที่ยึดเอกสาร แป้นพิมพ์ ที่พักเท้า เก้าอี้ เมาส์

ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านการย ศาสตร์ 15 2) ท่านั่ง : - ศีรษะ อยู่ในลักษณะสมดุล สายตาทอด อยู่ระดับราบ - ไหล่ทั้งสองข้างอยู่ในลักษณะธรรมชาติ - ลำตัวอยู่ในแนวดิ่งหรือเอนไปข้างหลัง เล็กน้อย - แขนส่วนล่างทั้งสอง และต้นขา ควรอยู่ ในระดับราบ - ไม่อยู่ในท่าที่ฝืนธรรมชาติ - มีการเปลี่ยนอิริยาบถเป็นระยะ

ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านการย ศาสตร์ 16 - ให้จอภาพอยู่ตรงหน้า - นั่งในตำแหน่งสบายๆ ตามธรรมชาติ

ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านการย ศาสตร์ 17 ท่ายืนทำงานที่ถูก หลักการยศาสตร์ 1) สภาพงาน : - ความสูงของงานโดยทั่วไปอยู่ ระดับข้อศอก - มีบริเวณสำหรับเคลื่อนเท้าไปมา - มีที่พักเท้า ถ้าต้องยืนเป็น เวลานาน

ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านการย ศาสตร์ 18

19   

20 2) ท่ายืน : - ศีรษะ อยู่ในลักษณะสมดุล - ไหล่ทั้งสองข้างอยู่ในลักษณะ ธรรมชาติ - - เอวแอ่นน้อยที่สุด ร่างกายไม่ ควรเอนไปข้างหน้า หรือ ข้างหลัง - ไม่อยู่ในท่าที่ฝืนธรรมชาติ - มีการเปลี่ยนอิริยาบถเป็นระยะ

ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านการย ศาสตร์ 21

22 กายบริหารระหว่างการทำงาน

ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านการย ศาสตร์ 23 เชิญชวนผู้รับการอบรม ทดลองนั่ง / ยืนในท่าต่าง ๆ

ชุดการเรียนรู้ความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ด้านการย ศาสตร์ 24 การทดสอบความรู้หลัง เรียน