Karaoke (flash). 1. เข้าโปรแกรม Flash สร้าง Layer Sound พร้อมกับ Insert Frame ( ประมาณเฟรม 25 เพื่อจะได้เห็นเส้นเสียง )

Slides:



Advertisements
งานนำเสนอที่คล้ายกัน
มีนามสกุลของไฟล์ดังนี้ tulip.psh tulip.mpg
Advertisements

Funny with Action Script
FONT FLOWERS การสร้างตัวอักษร ด้วยดอกไม้.
การทำ CAI จากโปรแกรม Flash cs3
ส่วนประกอบของโปรแกรม Macromedia Dreamweaver 8
กลุ่มคำสั่ง SQL สามารถแบ่งได้ดังนี้
CS Assembly Language Programming Period 29.
การนำข้อมูล PubMed เข้า EndNote
Power Director 4 ครั้งที่ 1/2548 วันพุธที่ 7 กันยายน 2548
โดยการใช้ Layer และ Timeline
การทำภาพ animation โดยใช้
เลือกภาพที่จะทำการตัด
Chapter 4 : Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
การสร้างบทเรียน CAI ด้วย Flash
Atlas.ti demo – ให้code ได้ไม่เกิน 50
แผนกฝึกอบรมฐานข้อมูล บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด
การสร้างภาพเคลื่อนไหว
ส่วนประกอบของโปรแกรม
Interactive Learning Demo Builder
Endnote V.X2 โปรแกรมจัดการบรรณานุกรม ประไพ จันทร์อินทร์ สำนักทรัพยากรการเรียนรู้คุณหญิงหลง อรรถกระวีสุนทร
การสร้างหน้าโฮมเพจด้วยโปรแกรม Macromedia Dreamweaver MX 2004
การใช้โปรแกรม Captivate
รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene รู้จักกับTimeline, Layer และ Scene
ประภาศรี ฟุ้งศรีวิโรจน์ บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด ประภาศรี ฟุ้งศรีวิโรจน์
โดย ประภาศรี ฟุ้งศรีวิโรจน์ บริษัท บุ๊ค โปรโมชั่น แอนด์ เซอร์วิส จำกัด แผนกฝึกอบรม ฐานข้อมูล ปรับปรุงครั้งล่าสุด 23/03/50.
Sukunya munjit..detudom.  เครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีหน่วยประมวลผล กลางระดับ Intel Pentium 800 MHz หรือ สูงกว่า  ระบบปฏิบัติการ Windows 2000 หรือสูง กว่า.
Animation (ภาพเคลื่อนไหว)
ประเภทของแอนิเมชั่นใน Flash
บทที่ 8 การสร้างวัตถุเคลื่อนไหวโดย Bone Tool
การสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ Layer
 สามารถใส่ไฟล์เสียงเพื่อประกอบงานที่สร้างขึ้น  อิมพอร์ตไฟล์เสียงเข้ามาไว้ในไลบรารี  เพิ่มเลเยอร์ใหม่ แล้วคลิกลากไฟล์เสียงมาวาง บนสเตจ  สร้างคีย์เฟรมใหม่ในตำแหน่งเฟรมที่ต้องการให้หยุด.
การจัดการบรรณานุกรม ด้วยโปรแกรม
1. เปิดเอกสาร Flash เลือกเมนู File -> New แล้วเลือก Flash File (ActionScript 2.0) 2. ไปที่เมนู Insert -> New Symbol 3. ที่หน้าต่าง Create New Symbol -
เลื่อนเมาส์แล้วเปลี่ยนเฟรม 1. สร้างไฟล์ flash โดยเลือกเป็น Action Script เพิ่ม Layer ให้เป็น 2 เลเยอร์ แล้วตั้งชื่อ เลเยอร์ บนสุด ตั้งชื่อ action.
Introduction EndNote เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับจัดการข้อมูลทางบรรณานุกรมที่ได้มาจากการบันทึกข้อมูลด้วยตนเอง การสืบค้นและถ่ายโอน (Import) ข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่าง.
Macromedia flash 8.
การทำอนิเมชั่นในโปรแกรม Photoshop
บทที่ 9 แอนิเมชั่น Animation อ.ชนิดา เรืองศิริวัฒนกุล
การจัดการเกี่ยวกับ เสียง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ผู้สอน นายกฤษชนะ สิงคาร.
ค้นหาภาพร่าง หรือ วาดเอง
บทที่ 1 เริ่มต้นสร้าง jQuery Mobile Page
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (GIS : Geographic Information System)
กิจกรรมอบรมความรู้ด้าน ICT เพื่อส่งเสริมความเท่าเทียม.
Lab 05 : Microsoft PowerPoint 2013 Part 1 ทพ 491 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการเกษตร อาจารย์อภิพงศ์ ปิงยศ
วิชาโปรแกรมกราฟิก. หน่วยที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์กราฟิก หน่วยที่ 2 ภาพ 2 มิติ และ 3 มิติ หน่วยที่ 3 การใช้งานโปรแกรม Adobe Photoshop.
โปรแกรม EndNote สามารถ Download จากเว็บไซต์ เพื่อทดลองใช้ได้
การสร้างหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-book)
Microsoft Access การใช้งานโปรแกรมระบบจัดการฐานข้อมูล
ความคืบหน้าการจัดทำ ร่าง-ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ นพ.ยงยศ ธรรมวุฒิ ที่ปรึกษาระดับกระทรวง นายแพทย์ทรงคุณวุฒิ
Microsoft Visual Basic 2010
Animation update.
Macromedia Flash 8 สุรีย์ นามบุตร.
Introduction to VB2010 EXPRESS
การเปิดชั้นข้อมูล ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
บทที่ 3 การสร้างเว็บไซต์ และการปรับคุณสมบัติของเว็บเพจ
ADOBE Dreamweaver CS3.
ถ้าคิดว่าคุณแน่ อย่าแพ้เรานะ
นามบัตร 1. เริ่มจากการทำด้านหน้าของนามบัตร เลือกเครื่องมือ Rectangle Tool (M)   แล้วคลิกที่พื้นที่การทำงาน 1 ครั้ง จะมี Options ขึ้นมา ให้กำหนดขนาด 3.5”
แบบฟอร์มการรายงานข้อมูลพื้นที่แปลงบำรุงป่า ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2558
มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Flash
Endnote V.X2 โปรแกรมจัดการบรรณานุกรม
ปฏิบัติการที่ 06 การใช้ฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ และการสร้างมาโครใน Excel
ประชุมผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ณ โรงแรมเอวาน่า บางนา กทม
สร้างข้อสอบคำถาม Login +แสดงคะแนน
สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์
ปุ่มใส+MC.
เพิ่มเรื่อง (post) ลงเวิร์ดเพรส
World window.
ใบสำเนางานนำเสนอ:

Karaoke (flash)

1. เข้าโปรแกรม Flash สร้าง Layer Sound พร้อมกับ Insert Frame ( ประมาณเฟรม 25 เพื่อจะได้เห็นเส้นเสียง )

2. File > Import > Import to Library ( เพื่อนำไฟล์เสียงเข้าในโปรแกรม Flash )

3. คลิก เมนู Window > Library ( หรือ Ctrl+L) เพื่อเปิดหน้าต่างทำงานของ Library

4. คลิกลากไฟล์เสียงที่หน้าต่าง Library ไปวางยังกระดาษทำงาน จะเห็นเส้นระดับของเสียง ในแต่ ละเฟรม ให้ Insert Frame ในเฟรมสุดท้ายของ เส้นเสียง

5. คลิกเฟรมที่ 1 ของ Layer Sound ที่ใส่เสียง ไปที่ Properties การกำหนด Sync Start : เล่นวนไปเรื่อยๆ Event : เล่นวนไปเรื่อยๆ แต่เมื่อวนเริ่มใหม่ จะเล่นเพลงอีกครั้ง โดยเพลงจะซ้อนกัน Stream : เล่นยีดตามเฟรม ที่ TimeLine เป็นหลัก เมาส์คลิกที่เฟรม เพลงจะหยุดเล่น ให้ นร. เลือกแบบนี้

6. สร้าง Layer ข้อความ เพื่อใส่ข้อความ เนื้อเพลงลงไป

7. กด Enter เล่นเพลงตามเฟรม เพื่อหาจุดเริ่มของเนื้อเพลง Insert Keyframe ใส่เนื้อเพลงลงไป

คลิก เครื่องมือ เพื่อพิมพ์ข้อความ

8. คลิกเฟรมที่ต้องการ Enter เล่นเพลง เพื่อหาจุดเริ่ม ของเนื้อเพลงในท่อนต่อไป Insert Keyframe ลบเนื้อเพลงท่อนเก่า ใส่เนื้อเพลง ท่อนใหม่ลงไป

9. สร้าง Layer สีตัวอักษร อยู่ใต้ Layer ข้อความ

10. ใน Layer สีตัวอักษร ให้วาดรูป สี่เหลี่ยม ใช้สีตัวอักษรที่ต้องการ วาดคลุม ทั้งข้อความ

11. สร้าง Layer สีคาราโอเกะ อยู่ใต้ Layer ข้อความ

12. Insert Keyframe ตรงกับจุดเริ่ม เนื้อเพลง วาดรูปสี่เหลี่ยม ใช้สีที่ต้องการเป็น คาราโอเกะ ( ปิดตา Layer สีตัวอักษร ) วาดรูปสี่เหลี่ยม ตามภาพ วางไว้ด้านซ้าย ก่อนข้อความเนื้อเพลง

13. คลิก Insert Keyframe เฟรมสิ้นสุด ของเนื้อเพลงท่อนนั้นๆ แล้ว ขยายรูปสี่เหลี่ยม คลุมข้อความเนื้อเพลงทั้งหมด เนื้อ เพลง ท่อน ใหม่ เฟรม สิ้นสุด เนื้อ เพลง

การ Insert Keyframe เฟรมสิ้นสุด ( กรอบสีชมพู ) ควรทำ ก่อน เริ่มท่อนเพลงใหม่ ตาม ภาพ !! หมาย เหตุ !! เนื้อ เพลง ท่อน ใหม่ เฟรม สิ้นสุด กรอบสี ชมพู เริ่มต้น กรอบสี ชมพู ท่อน เพลง ใหม่

14. คลิกเฟรมเริ่มต้น แล้ว คลิกขวา เลือกคำสั่ง Create Shape Tween

เมื่อกด Enter สี่เหลี่ยมสีชมพู จะ ขยายยืด ตามที่ได้กำหนดไว้

ทำให้ครบทุกท่อนของ เนื้อเพลง การทำ Shape tween ควรมีจุดสิ้นสุด ของแต่ละท่อนเนื้อเพลง ก่อน เริ่ม ท่อนเพลงใหม่ ตามภาพ

15. ทำการตรวจสอบเสียงตามเนื้อ เพลงทีละท่อนเนื้อ และ กรอบสี่เหลี่ยมสีชมพู ให้ ตรงกัน กรณี เนื้อเพลง และ กรอบสีชมพูไม่ตรงกัน ให้ Insert Keyframe เฟรมที่ต้องการ แล้วปรับเลื่อน ขยายกรอบสีชมพู ให้ตรงกับข้อความ ตรงตามเสียงเพลงนั้น

16. กำหนดจุด การแสดง MASK คลิก Layer ข้อความ คลิกขวา เลือก MASK

เมื่อ MASK แล้ว จะปรากฏ ดังภาพ

17. ให้คลิกเมาส์ค้างลาก Layer สี ตัวอักษร มาไว้ใต้ Layer สีคาราโอเกะ

กด Ctrl + Enter แสดงผล

สรุป 1. Layer ใส่ไฟล์เสียง File > Import > Import to Library กำหนดไฟล์เสียงเป็นแบบ Stream 2. เพิ่ม Layer ข้อความ ใส่ข้อความเนื้อเพลง 3. เพิ่ม Layer สีตัวอักษร วาดรูปสี่เหลี่ยมคลุมข้อความกำหนดสีที่ต้องการ 4. เพิ่ม Layer สีคาราโอเกะ Insert Keyframe จุดเริ่มต้นท่อนเพลง วาดรูปสี่เหลี่ยมใส่สีที่ต้องการไล่สีแบบคาราโอเกะ วางด้านซ้ายข้อความ Insert Keyframe จุดสิ้นสุดท่อนเพลง คลิกเฟรมเริ่มต้นของท่อนเพลง คลิกขวา Shape Tween ทำจนครบทั้งเนื้อเพลง 5. คลิกขวา Layer ข้อความ เลือก MASK 7. ลาก Layer สีตัวอักษร ไว้ใต้ Layer สีคาราโอเกะ