งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 3 เรื่อง การต่อตัวต้านทาน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 3 เรื่อง การต่อตัวต้านทาน."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 3 เรื่อง การต่อตัวต้านทาน

2 การต่อตัวต้านทานไฟฟ้า
ต่อได้กี่วิธี? 1. แบบอนุกรม 2. แบบขนาน 3. แบบผสม 3 วิธี

3 ตัวต้านทาน หมายถึง ตัวต้านทาน หมายถึง อุปกรณ์ไฟฟ้าที่ทำหน้าที่ต้านการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้าให้ผ่านได้มากหรือน้อย

4 ความหมายของการต่อตัวต้านทานไฟฟ้า
การต่อตัวต้านทานไฟฟ้าหมายถึง การนำตัวต้านทานไฟฟ้าตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป มาต่อเข้าด้วยกันระหว่างจุดสองจุด

5 ชนิดของการต่อตัวต้านทานไฟฟ้า
1. การต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบอนุกรม 2. การต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบขนาน 3. การต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบผสม

6 การต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบอนุกรม
ต้น R1 R2 R3 จุดที่ 2 จุดที่ 1 ปลาย ต่อ แสดงการต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบอนุกรม จุดที่ 2 จุดที่ 1 R1 R2 R3 แสดงการต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบอนุกรมในลักษณะอื่น ๆ

7 การต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบขนาน
จุดที่ 1 จุดที่ 2 R1 R2 R3 ปลาย ต้น จุดที่ 1 จุดที่ 2 R1 R2 R3 D A B C R4 จุดที่ 1 จุดที่ 2 R1 R2 R3 D A B C

8 แสดงการต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบขนานในลักษณะอื่น ๆ
จุดที่ 1 จุดที่ 2 R1 R2 R3 A B C D F E แสดงการต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบขนานในลักษณะอื่น ๆ จุดต่อ A จุดต่อ B เส้นเชื่อมโยงระหว่างจุดต่อ แสดงจุดต่อ A และจุดต่อ B เป็นจุดเดียวกัน

9 แสดงขั้นตอนการพิจารณาการต่อตัวต้านทานไฟฟ้าที่ยุ่งยากให้เป็นอย่างง่าย
A,D B,C R1 R2 R3 D A B C แสดงขั้นตอนการพิจารณาการต่อตัวต้านทานไฟฟ้าที่ยุ่งยากให้เป็นอย่างง่าย

10 การต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบผสม
R1 R2 R3 จุดที่ 1 จุดที่ 2 จุดที่ 1 จุดที่ 2 R1 R2 R3 D A B C จุดที่ 1 จุดที่ 2 R1 R2 R3 A C R4

11 การต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบผสม ลักษณะอื่นๆ
A C B D E F G H I J K L M R1 R2 R3 R4 R5 R6 R7 R8 จุดที่ 2 จุดที่ 1 การต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบผสม ลักษณะอื่นๆ

12 ค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมของการต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบต่างๆ

13 ค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมของการต่อ ตัวต้านทานไฟฟ้าแบบอนุกรม
RT = R1 + R2 + R3 +….+ RN

14 ค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมของ การต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบอนุกรม
ตัวอย่าง จากวงจรอนุกรมดังรูป กำหนดให้ค่าความต้านทาน R1 = 10 Ω , R2 = 15 Ω , R3 = 20 Ω , R4 = 25 Ω จงคำนวณหาค่าความต้านทานรวม (RT) ของวงจร วิธีทำ จากสูตร RT = R1 + R2 + R3 + R4 =10 Ω + 15 Ω + 20 Ω + 25 Ω ∴ RT = 70 Ω ตอบ

15 ค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมของการต่อ ตัวต้านทานไฟฟ้าแบบขนาน
RT R1 R2 R3 RT = 1/ R1 + 1/R2 + 1/R3 +…. 1/RN

16 ค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมของการต่อ ตัวต้านทานไฟฟ้าแบบขนาน
1/ R1 =1/ R1 +1/R2 + 1/R3 +…. 1/RN RT = R1 x R2 R R1 RT = R1 2 RT = RN N

17 ค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมของ ต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบขนาน
ค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมของ ต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบขนาน ตัวอย่าง จากวงจรขนานดังรูป กำหนดให้ค่าความต้านทาน R1 = 10 Ω , R2 = 20 Ω , R3 = 20 Ω จงคำนวณหาค่าความต้านทานรวม (RT) ของวงจร วิธีทำ ตอบ

18 ค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมของการต่อ ตัวต้านทานไฟฟ้าแบบผสม
RT = R1 + (R2 / / R3 )

19 ค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมของ การต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบผสม
ตัวอย่าง จากวงจรผสมดังรูป กำหนดให้ค่าความต้านทาน R1 = 2 Ω , R2 = 4 Ω , R3 = 5 Ω , R4 = 4 Ω , R5 = 5 Ω, R6 = 2 Ω จงคำนวณหาค่าความต้านทานรวม (RT) ของวงจร

20 ค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมของ การต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบผสม
(ต่อ)ตัวอย่าง วิธีทำ จากสูตร RT1 = R2 + R3 = 4 Ω + 5 Ω = 9 Ω RT2 = R4 + R5

21 ค่าความต้านทานไฟฟ้ารวมของ การต่อตัวต้านทานไฟฟ้าแบบผสม
(ต่อ)ตัวอย่าง RT3 = RT1 // RT2 RT = R1 + RT3 + R6 = 2 Ω Ω + 2 Ω ∴ RT = 8.5 Ω ตอบ

22 โรงเรียนฐานเทคโนโลยี โดย แผนกอิเล็กทรอนิกส์
จบการนำเสนอ โรงเรียนฐานเทคโนโลยี โดย แผนกอิเล็กทรอนิกส์


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 3 เรื่อง การต่อตัวต้านทาน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google