งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Change Management.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Change Management."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Change Management

2 ประเภทของการเปลี่ยนแปลง
ประเภทของการเปลี่ยนแปลง (The Nature of Change) นั้นขึ้นอยู่กับอัตราการเปลี่ยนแปลง ซึ่ง Grundy ได้แบ่งการเปลี่ยนแปลงออกเป็น 3 ประเภท ได้แก่ 1. Smooth Incremental Change 2. Bumpy Incremental Change 3. Discontinuous Change

3 ประเภทของการเปลี่ยนแปลง

4 ปัจจัยของแรงกระตุ้นที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
คำว่า “การเปลี่ยนแปลง” หมายถึง กระบวนการหรือการกระทำที่ต่างไปจากเดิม ซึ่งเกิดจากการปรับตัวขององค์การเพื่อการดำรงอยู่ในโลกธุรกิจ อาทิ สิ่งแวดล้อมใหม่ที่เกิดขึ้นในองค์การ ความรับผิดชอบต่อสังคม วัฒนธรรมขององค์การ ปริมาณการผลิต ตลอดจนการเข้าสู่ยุคข้อมูลข่าวสาร การเปลี่ยนแปลงขององค์การสามารถแบ่งปัจจัยของแรงกระตุ้นที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงได้ 2 ประเภท 1. ปัจจัยภายนอก 2. ปัจจัยภายในองค์การ

5 ปัจจัยภายนอก แรงกระตุ้นต่อการเปลี่ยนแปลงขององค์การนั้น สามารถแบ่งได้จากการจัดหมวดหมู่ของ PEST Analysis Model ซึ่งประกอบด้วย สภาพแวดล้อมทางสังคม (Social Environment) เศรษฐกิจ (Economical Environment) การเมือง (Political Environment) ถึงเทคโนโลยี (Technological Environment)

6 ปัจจัยภายในองค์การ สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท ได้แก่
1) Formal Subsystem ประกอบด้วย การบริหาร การจัดการการผลิต เป้าหมายขององค์การ กลยุทธ์การบริหาร โครงสร้างขององค์การ และเทคโนโลยีที่ใช้ในองค์การ 2) Informal Subsystem ประกอบด้วย วัฒนธรรมองค์การ การเมืองในองค์การ รวมถึงภาวะความเป็นผู้นำ ตัวอย่างปัจจัยภายในองค์การที่กระทบต่อการเปลี่ยนแปลงอื่นๆ ในองค์การ

7 ปัจจัยภายในองค์การ 1) Formal Subsystem ประกอบด้วย การบริหาร
การจัดการการผลิต เป้าหมายขององค์การ กลยุทธ์ โครงสร้างขององค์การ เทคโนโลยีที่ใช้ในองค์การ

8 ปัจจัยภายในองค์การ 1) Informal Subsystem ประกอบด้วย วัฒนธรรมองค์การ
การเมืองในองค์การ บุคลากรในองค์การ

9 ปัจจัยภายในองค์การ

10 การต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
เหตุผลในการต่อต้าน การเปลี่ยนแปลงทำให้เกิดความเสี่ยงและภัยคุกคามต่อผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง เพราะสมาชิกในองค์การต้องเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมที่เคยชิน ส่งผลให้เกิดความไม่พอใจจึงเกิดการต่อต้านขึ้น โดยการต่อต้านจะมีหลายสาเหตุ ได้แก่ การต่อต้านผลที่เกิดขึ้น การขาดแคลนข้อมูล ความไม่ไว้ใจ ความเฉื่อยชา การรับรู้ การรับรู้ของแต่ละบุคคลจะมีความแตกต่างกัน มองเห็นจุดอ่อนหรือข้อบกพร่องของแผนการเปลี่ยนแปลง ความไม่แน่นอน เกิดจากการขาดความเข้าใจและความมั่นใจ สาเหตุส่วนบุคคล

11 การเผชิญกับการเปลี่ยนแปลง
การวิเคราะห์กับการเปลี่ยนแปลงโดยใช้หลักการของความสมดุล คือ สถานการณ์ที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและปัจจัยที่ต่อต้านการเปลี่ยนแปลงนั้นมีความสัมพันธ์กัน การสื่อสาร (Communication) การส่งเสริมให้มีส่วนร่วม (Paticipation) การอำนวยความสะดวกและเป็นผู้ให้การสนับสนุน (Facilitation and Support) การเจรจาต่อรอง (Negotiation) การแทรกแซง (Manipulation) การใช้การบังคับ (Coercion)

12 การประเมินผลการเปลี่ยนแปลง
การรวบรวมข้อมูลสามารถทำได้ 2 วิธี คือ เก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารในการนำแผนไปปฏิบัติ การเก็บรวบรวมข้อมูลนั้นจะต้องเลือกวิธีการที่เหมาะสมกับสถานการณ์ การเก็บข้อมูลได้มากขึ้นจะทำให้การวิเคราะห์มีความถูกต้องมากขึ้น เปรียบเทียบผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นกับเป้าหมาย เพื่อประเมินว่าผลการทำงานที่เกิดขึ้นสามารถบรรลุเป้าหมายที่ต้องการหรือไม่ ทบทวนผลที่เกิดขึ้น เป็นการประเมินผลลัพธ์ (Outcome) ของการเปลี่ยนแปลงและสื่อสารให้ผู้ที่เกี่ยวข้องและได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงรับทราบ ซึ่งมีหลายวิธีการในการสื่อสารให้ผู้บังคับบัญชาและลูกน้องรับทราบคือ เขียนรายงาน รายงานโดยคำพูด อภิปรายกลุ่ม

13 สิ่งที่ควรคำนึงถึงเพื่อให้การเปลี่ยนแปลงเป็นไปอย่างราบรื่น
การเรียนรู้ขององค์การ ความร่วมมือ และ Team-Working แรงจูงใจ ภาวะความเป็นผู้นำ (Leadership) การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ

14 จบการนำเสนอ


ดาวน์โหลด ppt Change Management.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google