งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บรรษัทธรรมภิบาลกับการค้าระหว่างประเทศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บรรษัทธรรมภิบาลกับการค้าระหว่างประเทศ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บรรษัทธรรมภิบาลกับการค้าระหว่างประเทศ
ดร.พรชัย วิสุทธิศักดิ์

2 แนวคิดด้าน สังคม สิ่งแวดล้อม
แนวคิด ความหมาย CSR แนวคิดด้าน องค์กร แนวคิดด้าน สังคม สิ่งแวดล้อม จากเดิมที่นึกถึงแต่กำไร ยอดขาย หันมายึดหลักจริยธรรมในการดำเนินธุรกิจกับทุกฝ่ายที่มีส่วนได้ส่วนเสียกับองค์กร(stakeholders) มีความรับผิดชอบต่อสังคมให้ความดูแล ช่วยเหลือ แบ่งปัน รักษา ใส่ใจ สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม นำมาสู่ การพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน เพิ่มกำไร สร้างภาพลักษณ์ สร้างชื่อเสียงให้องค์กร ที่มา: ดร.ปริยา รินรัตนากร, Corporate Social Responsibility

3 แนวคิดหลักด้าน CSR การประกอบธุรกิจโดยยึดหลักศีลธรรม จริยธรรม ธรรมาภิบาล การปฎิบัติต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียขององค์กรอย่างมีคุณธรรม การเคารพสิทธิและปฎิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม การส่งเสริมให้พนักงานได้พัฒนาตนเอง (training courses) มีความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค การเข้าร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม การจัดทำรายงานด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม ที่มา: ดร.ปริยา รินรัตนากร, Corporate Social Responsibility

4 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับองค์กร
คู่แข่ง ผู้ถือหุ้น ลูกค้า องค์กร คู่ค้า สื่อมวลชน ชุมชน สังคม พนักงาน&ครอบครัว ที่มา: ดร.ปริยา รินรัตนากร, Corporate Social Responsibility

5 ระดับของ CSR ระดับขั้นของ CSR ระดับที่ 1 mandatory level
องค์กรปฎิบัติตามข้อกำหนดของกฎหมาย และกฎเกณฑ์ต่างๆ เช่น กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค กฎหมายแรงงาน กฎหมายภาษี กฎหมายด้านสิ่งแวดล้อม รวมทั้งสร้างความรับผิดชอบภายในองค์กร ระหว่างพนักงานด้วยกัน ระหว่างพนักงานกับงาน ระดับที่ 2 elementary level ประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่องค์กรให้แก่ผู้ถือหุ้น กำไรที่ได้ต้องไม่มาจากการเบียดเบียนสังคม ขยายความรับผิดชอบไปยังลูกค้า ไม่เอาเปรียบผู้บริโภค ผลิตสินค้าที่ปลอดภัยได้มาตรฐาน ที่มา: ดร.ปริยา รินรัตนากร, Corporate Social Responsibility

6 ระดับขั้นของ CSR ระดับของ CSR ระดับที่ 3 preemptive level
จรรยาบรรณทางธุรกิจ องค์กรสร้างผลกำไรที่เหมาะสม และคำนึงถึงประโยชน์ของสังคมและประโยชน์ของชุมชนรอบตัวมากขึ้น เพิ่มจิตสำนึกของความรับผิดชอบ ระดับที่ 4 voluntary level องค์กรดำเนินธุรกิจควบคู่กับการดูแล รักษา สังคม ด้วยความสมัครใจ มุ่งสร้างประโยชน์ให้แก่ชุมชนและสังคมอย่างแท้จริง ที่มา: ดร.ปริยา รินรัตนากร, Corporate Social Responsibility

7 ทำไมต้องทำ CSR ….ไม่ทำได้หรือไม่
ISO 26000 ผลกำไรลดลง กีดกันทางการค้า เกณฑ์การกู้แบงค์ เลือกคู่ค้าที่CSR ยอดขายลดลง ปัญหากับชุมชน CSR-DIW ดังนั้น องค์กรต่างๆ และโรงงานอุตสาหกรรมจึงหันมาเดินหน้า เน้นสร้างคุณค่าขององค์กรด้วยการทำ CSR กันอย่างจริงจัง จนCSR ได้กลายมาเป็นสิ่งจำเป็นและมีบทบาทในทุกองค์กร ที่มา: ดร.ปริยา รินรัตนากร, Corporate Social Responsibility

8 ประโยชน์ของการทำ CSR องค์กรมีส่วนร่วมในการกำหนดมาตรฐานสำคัญๆของรัฐ
สร้างแรงดึงดูดใจให้กับนักธุรกิจ นักลงทุน และนักการเงิน ลดค่าใช้จ่ายการดำเนินงานขององค์กร (ประหยัดน้ำ-ไฟ, รีไซเคิล) สามารถดึงดูด รักษา พนักงานที่มีคุณภาพให้อยู่กับองค์กรได้นาน สื่อมวลชนให้ความร่วมมือในการนำเสนอข่าวสารด้าน CSR ประโยชน์ของ CSR มีมากกว่าที่คิด

9 มีการตระหนักถึง CSR ผ่านทางมาตรฐาน ISO ต่างๆ

10 กลต พยายามสร้างความตระหนักรู้และการบังคับโดยอ้อมให้มีการใช้ CSR

11 กลต พยายามสร้างความตระหนักรู้และการบังคับโดยอ้อมให้มีการใช้ CSR

12 หอการค้า กับ CSR

13 หอการค้า กับ CSR Source:

14

15 ธุรกิจกับการรับผิดชอบต่อสังคม

16 Ethics, Economics, and Law

17 สรุปโดยรวม CSR เน้นการป้องกันมากว่าปล่อยให้มีข้อพิพาทระหว่างบริษัทกับผู้เกี่ยวข้องในประเด็นการเมือง กฎหมายและสังคม ก่อให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน สร้างการอบู่ร่วมกันระหว่างบริษัทกับภาคส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้อง ยกระดับการพัฒนาบริษัทให้เป็นสากลตอบรับกับความต้องการในตลาดโลก

18 Piercing the Corporate Veil
legal decision to treat the rights or duties of a corporation as the rights or liabilities of its shareholders. Usually a corporation is treated as a separate legal person, which is solely responsible for the debts it incurs and the sole beneficiary of the credit it is owed. Common law countries usually uphold this principle of separate personhood, but in exceptional situations may "pierce" or "lift" the corporate veil.

19 Theories of Piercing the Corporate Veil
Juristic Persons (Corporations) vs. Individual Investors/Shareholders Separate Entity Responsibility/Liability “Corporate Veil” = Limited Liability เท่าจำนวนหุ้นที่ค้างชำระ Traditional

20 Exceptions: CVP Statutory Veil-Piercing
Substantive Legal Rules / Statutes Predictability Alter Ego--- "the other I" / Instrumentality Analysis and Other No Statutes Parent – Subsidiary Relationships: Agency Or Common Identity, Majority FACTORS: Identities, Formalities, Status of Corporate Affiliates Justified

21 Veil-Piercing Under the Economic Enterprise or Business Theory
A unity of purpose and “conduct interrelated operations as part of an integrated enterprise under common direction directed at the maximization of return for the group as a whole” FACTORS: Centralized control & economic integration, organization, market, & public identification as a unitary company

22 จบจริงๆแล้ว


ดาวน์โหลด ppt บรรษัทธรรมภิบาลกับการค้าระหว่างประเทศ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google