งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย
ความสอดคล้องของ เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ พ.ศ กับ เกณฑ์ตัวชี้วัดที่ 5 ระดับความสำเร็จของ การพัฒนาองค์การตามแนวทาง PMQA กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย 19 มีนาคม 2558

2 ประเด็นนำเสนอ เป้าหมายการพัฒนาองค์การ ปี 2558
แนวคิดการออกแบบเกณฑ์ตัวชี้วัดที่ 5 เกณฑ์ PMQA พ.ศ.2558 และ ความสอดคล้องเชื่อมโยงกับเกณฑ์ตัวชี้วัดที่ 5 4. เป้าหมายที่จะนำเสนอต่อกรมอนามัย การแบ่งกลุ่ม เพื่อการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ แนวทางการดำเนินงานของหน่วยงาน 2

3 เป้าหมายการพัฒนาองค์การ ปี 2558
1 เป้าหมายการพัฒนาองค์การ ปี 2558 เจ้าภาพหมวด 1-6 ดำเนินการ เพื่อบรรลุ เป้าหมายตามเกณฑ์ PMQA และพร้อมรับการตรวจ ประเมิน Certified Fundamental Level ทุกหน่วยงานใช้ PMQA เป็นเครื่องมือสนับสนุนการ ดำเนินงาน เพื่อบรรลุ เป้าหมายตามภารกิจของ หน่วยงาน  ประเมินผลตาม KPI5 แนวทาง แนวทาง 1. ทบทวนผลการดำเนินงาน เทียบกับเกณฑ์ 2. ทำแผนพัฒนาองค์การ และกำหนดตัวชี้วัดผลลัพธ์ 3. ขับเคลื่อนการดำเนินงานภาพรวมของกรม 4. จัดทำรายงานการประเมินองค์กรด้วยตนเอง เสนอต่อคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการกรมอนามัย 1. ประเมินตนเอง 2. ดำเนินการเพื่อบรรลุเป้าหมายตามเกณฑ์ตัวชี้วัดที่ 5 ระดับหน่วยงาน 3. จัดทำรายงานการประเมินตนเอง (SAR) และนำหลักฐานอ้างอิง Upload เว็บไซต์หน่วยงาน 3

4 PMQA คืออะไร PMQA มาจาก “Public Sector Management Quality Award”
: การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ กระบวนการตามเกณฑ์ PMQA คือกระบวนการบริหารงานที่ทุกส่วนราชการปฏิบัติกันอยู่แล้ว การประเมินตามเกณฑ์เป็นการแยกเป็นหมวดหมู่ให้เห็นว่า การบริหารจัดการแต่ละหมวด (หมวด 1- 6) เป็นอย่างไร และก่อให้เกิดผลลัพธ์ความสำเร็จในหมวด 7 อย่างไร 1 2 PMQA เป็นเครื่องมือตรวจประเมินองค์กร และปรับปรุงองค์กร โดยมองภาพองค์รวมทั้ง 7 หมวด เพื่อ มุ่งพัฒนาระบบบริหารจัดการภายในองค์การให้มีระบบที่ดี มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องยั่งยืน และ มีความเป็นมาตรฐาน 4

5 การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี
ทำไมต้อง PMQA ภาครัฐ การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เป้าหมาย เพื่อประโยชน์สุข ของประชาชน เป้าหมายของการพัฒนาองค์กรตามแนวทาง PMQA ทำให้องค์กรสามารถส่งมอบคุณค่าที่ดีขึ้นอยู่เสมอ แก่ผู้รับบริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกกลุ่ม เกิดการปรับปรุงประสิทธิผล ประสิทธิภาพ และ ขีดความสามารถขององค์กร เกิดการเรียนรู้ขององค์กรและระดับบุคคล ซึ่งจะนำไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ ไม่จำเป็นต้อง PMQA แต่ต้องพัฒนาองค์กร 5

6 สาระสำคัญของเกณฑ์ PMQA
PMQA Model P. ลักษณะสำคัญขององค์กร สภาพแวดล้อม ความสัมพันธ์ และความท้าทาย 2. การวางแผน เชิงยุทธศาสตร์ 5. การมุ่งเน้น บุคลากร 1. การนำ องค์การ 7. ผลลัพธ์ การดำเนิน การ 3. การให้ความ สำคัญกับผู้รับ บริการและผู้มี ส่วนได้ส่วนเสีย 6. การมุ่งเน้น ระบบการ ปฏิบัติการ 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 6

7 แนวคิดการออกแบบเกณฑ์ตัวชี้วัดที่ 5
2 แนวคิดการออกแบบเกณฑ์ตัวชี้วัดที่ 5 35 หมวดที่ 1 การนำองค์การ หมวดที่ 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 35 หมวดที่ 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับริการ และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 35 หมวดที่ 4 การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 35 30 หมวดที่ 5 การมุ้งเน้นทรัพยากรบุคคล 30 หมวดที่ 6 การจัดการกระบวนการ ประกอบด้วยเกณฑ์การประเมิน 24 ข้อ คะแนนรวม 200 คะแนน 7

8 Certified Fundamental Level PMQA เป็นเครื่องมือสนับสนุนการปฏิบัติงาน
เกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ รางวัล PMQA Certified Fundamental Level PMQA เป็นเครื่องมือสนับสนุนการปฏิบัติงาน คู่มือคำรับรอง การปฏิบัติราชการ ของหน่วยงานในสังกัด กรมอนามัย ปีงบประมาณพ.ศ.2558 ตัวชี้วัดที่ 5 เกณฑ์ตัวชี้วัดที่ 5 เกณฑ์ พ.ศ.2558 เกณฑ์ระดับพื้นฐาน

9 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา องค์การตามแนวทาง PMQA เกณฑ์คุณภาพการบริหาร
3 ความสอดคล้องเชื่อมโยง คู่มือคำรับรอง การปฏิบัติราชการ ของหน่วยงานในสังกัด กรมอนามัย ปีงบประมาณพ.ศ.2558 ตัวชี้วัดที่ 5 เกณฑ์ตัวชี้วัดที่ 5 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา องค์การตามแนวทาง PMQA เกณฑ์คุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ พ.ศ.2558

10 1.2 การกำกับดูแลและ ความรับผิดชอบต่อสังคม
หมวด 1 การนำองค์การ เพื่อให้เห็นถึง บทบาทของผู้นำในการชี้นำและขับเคลื่อนองค์การให้เกิดความยั่งยืน การสื่อสารทั้งภายใน ภายนอก เพื่อให้เกิดความผูกพัน การสร้างนวัตกรรม และ ผลการดำเนินการที่ดี 1.1 การนำองค์การ 1.2 การกำกับดูแลและ ความรับผิดชอบต่อสังคม วิสัยทัศน์ ค่านิยมและพันธกิจ การกำหนดวิสัยทัศน์ ค่านิยม พันธกิจ การสื่อสาร ถ่ายทอดสู่การปฏิบัติไปยังบุคลากร การส่งเสริมการประพฤติปฏิบัติตามหลักนิติธรรม ความโปร่งใส จริยธรรม การสร้างองค์การคุณภาพที่ยั่งยืน การสื่อสารผลการดำเนินการ การสื่อสารสร้างความผูกพันทั้งภายในและภายนอก การทำให้เกิดการปฏิบัติจริง การกำกับดูแลองค์การ ระบบการกำกับดูแลองค์การ การประเมินผลการดำเนินการ การประพฤติปฏิบัติตามกฎหมายอย่างมีจริยธรรม การประพฤติปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ การประพฤติปฏิบัติอย่างมีจริยธรรม ความรับผิดชอบต่อสังคมและการสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ การคำนึงถึงความผาสุกของสังคม การสนับสนุนชุมชมให้เข้มแข็ง 10

11 1.2 การกำกับดูแลและ ความรับผิดชอบต่อสังคม
หมวด 1 การนำองค์การ KPI5 1.1 การกำหนดทิศทาง นโยบาย เป้าหมายการดำเนินงาน และถ่ายทอด สื่อสารให้บุคลากรรับรู้และนำไปปฏิบัติ 1.2 การมอบอำนาจและความรับผิดชอบในการตัดสินใจ 1.3 การติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน 1.1 การนำองค์การ 1.2 การกำกับดูแลและ ความรับผิดชอบต่อสังคม วิสัยทัศน์ ค่านิยมและพันธกิจ การกำหนดวิสัยทัศน์ ค่านิยม พันธกิจ การสื่อสาร ถ่ายทอดสู่การปฏิบัติไปยังบุคลากร การส่งเสริมการประพฤติปฏิบัติตามหลักนิติธรรม ความโปร่งใส จริยธรรม การสร้างองค์การคุณภาพที่ยั่งยืน การสื่อสารผลการดำเนินการ การสื่อสารสร้างความผูกพันทั้งภายในและภายนอก การทำให้เกิดการปฏิบัติจริง การกำกับดูแลองค์การ ระบบการกำกับดูแลองค์การ การประเมินผลการดำเนินการ การประพฤติปฏิบัติตามกฎหมายอย่างมีจริยธรรม การประพฤติปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ การประพฤติปฏิบัติอย่างมีจริยธรรม ความรับผิดชอบต่อสังคมและการสนับสนุนชุมชนที่สำคัญ การคำนึงถึงความผาสุกของสังคม การสนับสนุนชุมชมให้เข้มแข็ง 11

12 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 2.2 การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ
เพื่อให้วางแผนยุทธศาสตร์ที่มีประสิทธิภาพ กำหนดกลยุทธ์ที่ตอบสนองความท้าทาย การจัดทำแผนปฏิบัติการ การนำไปปฏิบัติ ตลอดจนวิธีการวัดผลความก้าวหน้า ผลสำเร็จและประสิทธิผลของแผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการ 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ 2.2 การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ กระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์ กระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ การสร้างสภาพแวดล้อมสนับสนุน การวิเคราะห์และกำหนดยุทธศาสตร์ ระบบงานและสมรรถนะหลักขององค์การ วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่สำคัญ การพิจารณาวัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ การจัดทำแผนปฏิบัติการและถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ การจัดทำแผนปฏิบัติการ การนำแผนปฏิบัติการไปปฏิบัติ การจัดสรรทรัพยากร แผนด้านทรัพยากรบุคคล ตัวชี้วัดผลการดำเนินการ การปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติการ การคาดการณ์ผลการดำเนินการ 12

13 หมวด 2 การวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ 2.2 การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ
2.2 มีการจัดทำแผนยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติการ 2.3 มีการถ่ายทอดตัวชี้วัด จากระดับ หน่วย งานสู่ระดับบุคคล KPI5 2.1 มีการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลปัจจัยภายในภายนอก 2.4 มีการสื่อสาร การนำแผนไปปฏิบัติ 2.5 มีการติดตาม ความก้าวหน้าการปฏิบัติงาน และสรุปบทเรียน 2.1 การจัดทำยุทธศาสตร์ 2.2 การนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติ กระบวนการจัดทำยุทธศาสตร์ กระบวนการวางแผนยุทธศาสตร์ การสร้างสภาพแวดล้อมสนับสนุน การวิเคราะห์และกำหนดยุทธศาสตร์ ระบบงานและสมรรถนะหลักขององค์การ วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ วัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ที่สำคัญ การพิจารณาวัตถุประสงค์เชิงยุทธศาสตร์ การจัดทำแผนปฏิบัติการและถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ การจัดทำแผนปฏิบัติการ การนำแผนปฏิบัติการไปปฏิบัติ การจัดสรรทรัพยากร แผนด้านทรัพยากรบุคคล ตัวชี้วัดผลการดำเนินการ การปรับเปลี่ยนแผนปฏิบัติการ การคาดการณ์ผลการดำเนินการ 13

14 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
เพื่อให้สามารถกำหนดวิธีการที่ใช้รับฟังผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (C/SH) การใช้สารสนเทศในการปรับปรุงและค้นหาโอกาสในการสร้างนวัตกรรม เพื่อสร้างความผูกพันและความสัมพันธ์ที่ดีกับ C/SH 3.1 สารสนเทศสำหรับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 การสร้างความผูกพัน์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สารสนเทศผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สารสนเทศผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในปัจจุบัน สารสนเทศผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่พึงมีในอนาคต การประเมินความพึงพอใจและการสร้างความผูกพันกับ C/SH ความพึงพอใจและสร้างความผูกพันกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความพึงพอใจเปรียบเทียบคู่แข่ง/ คู่เทียบ ความไม่พึงพอใจ ผลผลิต การบริการและการสนับสนุนผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลผลิตและการบริการ การสนับสนุนผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การจำแนกผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การสร้างความผู้พันกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การจัดการความสัมพันธ์ การจัดการกับข้อร้องเรียน 14

15 หมวด 3 การให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
3.5 มีการวัดความพึงพอใจ/ไม่พึงพอใจของ C/SH 3.4 มีการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในกิจกรรมของหน่วยงาน 3.1 มีการวิเคราะห์กลุ่ม C/SH สินค้าและบริการ 3.2 มีการกำหนดมาตรฐานการให้บริการ 3.3 มีกิจกรรมสร้างความสัมพันธ์กับ C/SH KPI5 3.1 สารสนเทศสำหรับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 3.2 การสร้างความผูกพัน์กับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สารสนเทศผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สารสนเทศผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในปัจจุบัน สารสนเทศผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่พึงมีในอนาคต การประเมินความพึงพอใจและการสร้างความผูกพันกับ C/SH ความพึงพอใจและสร้างความผูกพันกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความพึงพอใจเปรียบเทียบคู่แข่ง/ คู่เทียบ ความไม่พึงพอใจ ผลผลิต การบริการและการสนับสนุนผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ผลผลิตและการบริการ การสนับสนุนผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การจำแนกผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การสร้างความผูกพันกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การจัดการความสัมพันธ์ การจัดการกับข้อร้องเรียน 15

16 หมวด 4 การวัด วิเคราะห์และการจัดการความรู้
เพื่อให้ใช้ข้อมูลและสารสนเทศ ในทุกระดับและทุกส่วนขององค์การมาใช้วัด วิเคราะห์ ทบทวนและปรับปรุงผลการดำเนินการ รวมทั้งเพื่อให้ใช้ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบและข้อมูลเกี่ยวกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ เกิดการแก้ปัญหาที่มีประสิทธิภาพและการเรียนรู้จนเกิดแนวทางการปฏิบัติที่เป็นเลิศ 4.1 การวัด วิเคราะห์และการปรับปรุงผลการดำเนินการ 4.2 การจัดการความรู้ สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ การวัดผลการดำเนินการ ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ ข้อมูลผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความคล่องตัวของการวัดผล การวิเคราะห์และทบทวนผลการดำเนินการ การปรับปรุงผลการดำเนินการ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ ผลการดำเนินการในอนาคต การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและสร้างนวัตกรรม ความรู้ของส่วนราชการ การจัดการความรู้ การรวบรวมและถ่ายทอดองค์ความรู้ เพื่อใช้ประโยชน์ การเรียนรู้ระดับองค์กร ข้อมูล สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ คุณลักษณะของข้อมูลและสารสนเทศ ความพร้อมใช้งานของข้อมูลและสารสนเทศ คุณลักษณะของฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ ความพร้อมใช้งานในภาวะฉุกเฉิน 16

17 หมวด 4 การวัด วิเคราะห์และการจัดการความรู้
4.1 มีฐานข้อมูลสนับสนุนการดำเนินงาน 4.2 มีระบบเทคโนโลยี ที่ C/SH สามารถเข้าถึงได้สะดวก รวดเร็ว ทั่วถึง 4.3 มีระบบติดตามเฝ้าระวังและเตือนภัย 4.4 มีการจัดการความรู้ และมีการนำความรู้ไปใช้การพัฒนางาน KPI5 4.1 การวัด วิเคราะห์และการปรับปรุงผลการดำเนินการ 4.2 การจัดการความรู้ สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ การวัดผลการดำเนินการ ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ ข้อมูลผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความคล่องตัวของการวัดผล การวิเคราะห์และทบทวนผลการดำเนินการ การปรับปรุงผลการดำเนินการ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ ผลการดำเนินการในอนาคต การปรับปรุงอย่างต่อเนื่องและสร้างนวัตกรรม ความรู้ของส่วนราชการ การจัดการความรู้ การรวบรวมและถ่ายทอดองค์ความรู้ เพื่อใช้ประโยชน์ การเรียนรู้ระดับองค์กร ข้อมูล สารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศ คุณลักษณะของข้อมูลและสารสนเทศ ความพร้อมใช้งานของข้อมูลและสารสนเทศ คุณลักษณะของฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ ความพร้อมใช้งานในภาวะฉุกเฉิน 17

18 หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร
เพื่อให้สามารถประเมินความต้องการด้านความสามารถและอัตรากำลัง เพื่อสร้างสภาพแวดล้อมในการทำงานของบุคลากรที่ก่อให้เกิดผลการดำเนินการที่ดี การสร้างความผูกพัน การบริหารจัดการและการพัฒนาบุคลากร รวมถึงการนำศักยภาพของบุคลากรมาใช้อย่างเต็มที่ 5.1 สภาพแวดล้อมด้านบุคลากร 5.2 ความผูกพันของบุคลากร ขีดความสามารถและอัตรากำลังด้านบุคลากร ขีดความสามารถและอัตรากำลัง บุคลากรใหม่ การทำงานให้บรรลุผล การจัดการการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร บรรยากาศการทำงานของบุคลากร สภาพแวดล้อมการทำงาน นโยบายและสวัสดิการ ผลการปฏิบัติงานของบุคลากร องค์ประกอบของความผูกพัน วัฒนธรรมส่วนราชการ การประเมินผลการปฏิบัติงาน การประเมินความผูกพันของบุคลากร การประเมินความผูกพัน ความเชื่อมโยงกับผลลัพธ์ขององค์กร การพัฒนาบุคลากรและผู้บริหาร ระบบการเรียนรู้และการพัฒนา ประสิทธิผลของการเรียนรู้และการพัฒนา ความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน 18

19 หมวด 5 การมุ่งเน้นบุคลากร
KPI5 5.1 มีการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้/ทักษะ และสามารถนำไปใช้ในการปฏิบัติงานให้บรรลุผลตามเป้าประสงค์ของหน่วยงาน 5.2 มีกิจกรรมส่งเสริมการมีสมรรถนะที่ดีของบุคลากร 5.1 สภาพแวดล้อมด้านบุคลากร 5.2 ความผูกพันของบุคลากร ขีดความสามารถและอัตรากำลังด้านบุคลากร ขีดความสามารถและอัตรากำลัง บุคลากรใหม่ การทำงานให้บรรลุผล การจัดการการเปลี่ยนแปลงด้านบุคลากร บรรยากาศการทำงานของบุคลากร สภาพแวดล้อมการทำงาน นโยบายและสวัสดิการ ผลการปฏิบัติงานของบุคลากร องค์ประกอบของความผูกพัน วัฒนธรรมส่วนราชการ การประเมินผลการปฏิบัติงาน การประเมินความผูกพันของบุคลากร การประเมินความผูกพัน ความเชื่อมโยงกับผลลัพธ์ขององค์กร การพัฒนาบุคลากรและผู้บริหาร ระบบการเรียนรู้และการพัฒนา ประสิทธิผลของการเรียนรู้และการพัฒนา ความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน 19

20 หมวด 6 การมุ่งเน้นระบบการปฏิบัติการ 6.2 ประสิทธิผลการปฏิบัติการ
เพื่อให้สามารถออกแบบ จัดการ ปรับปรุงผลผลิต การบริการและ กระบวนการทำงาน ให้เกิดประสิทธิผลของการปฏิบัติงาน และสามารถส่งมอบผลผลิตแก่ผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 6.1 กระบวนการทำงาน 6.2 ประสิทธิผลการปฏิบัติการ การออกแบบผลผลิตและกระบวนการ แนวคิดในการออกแบบ ข้อกำหนดของผลผลิต การบริการ และกระบวนการทำงาน การจัดการกระบวนการ การนำกระบวนการไปปฏิบัติ กระบวนการสนับสนุน การปรับปรุงผลผลิต การบริการและกระบวนการ การควบคุมต้นทุน การจัดการห่วงโซ่อุปทาน การเตรียมความพร้อมด้านความปลอดภัยและต่อภาวะฉุกเฉิน ความปลอดภัย การเตรียมความพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน การจัดการนวัตกรรม 20

21 หมวด 6 การมุ่งเน้นระบบปฏิบัติการ 6.2 ประสิทธิผลการปฏิบัติการ
KPI5 6.1 มีการกำหนดกระบวนการสร้างคุณค่า/กระบวนการสนับสนุน 6.2 มีการจัดทำมาตรฐานการปฏิบัติงาน (SOP) 6.3 นำมาตรฐานการปฏิบัติงานไปปฏิบัติ 6.4 มีแผนสำรองฉุกเฉิน เพื่อรองรับภาวะฉุกเฉิน 6.1 กระบวนการทำงาน 6.2 ประสิทธิผลการปฏิบัติการ การออกแบบผลผลิตและกระบวนการ แนวคิดในการออกแบบ ข้อกำหนดของผลผลิต การบริการ และกระบวนการทำงาน การจัดการกระบวนการ การนำกระบวนการไปปฏิบัติ กระบวนการสนับสนุน การปรับปรุงผลผลิต การบริการและกระบวนการ การควบคุมต้นทุน การจัดการห่วงโซ่อุปทาน การเตรียมความพร้อมด้านความปลอดภัยและต่อภาวะฉุกเฉิน ความปลอดภัย การเตรียมความพร้อมต่อภาวะฉุกเฉิน การจัดการนวัตกรรม 21

22 หมวด 7 ผลลัพธ์การดำเนินการ
เพื่อให้สามารถรายงานผลการดำเนินการที่สำคัญ ด้านผลผลิต ประสิทธิผลและประสิทธิภาพของกระบวนการ ที่สะท้อนผลลัพธ์ของกระบวนการต่าง ๆ 7.1 ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลและการบรรลุพันธกิจ 7.2 ผลลัพธ์ด้านการให้ความสำคัญกับผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 7.3 ผลลัพธ์ด้านการมุ่งเน้นบุคลากร 7.4 ผลลัพธ์ด้านการนำองค์การและการกำกับดูแล 7.5 ผลลัพธ์ด้านงบประมาณ การเงินและการเติบโต 7.6 ผลลัพธ์ด้านประสิทธิผลของกระบวนการ และการจัดการห่วงโซ่อุปทาน 22

23 สรุปลักษณะสำคัญของเกณฑ์ PMQA
เป็นกระบวนการที่มุ่งเน้นให้เกิดการเรียนรู้ ไม่ใช่มุ่งเน้นการได้คะแนนสูง หรือได้รับรางวัล เป็นกระบวนการที่ต้องดำเนินการต่อเนื่อง ไม่ใช่โครงการเฉพาะกิจ เกณฑ์แต่ละหมวดมีความเชื่อมโยงและสอดคล้องกัน การประเมินผล ครอบคลุมทั้งกระบวนการและผลลัพธ์ สามารถปรับใช้ได้ตามภารกิจของหน่วยงานทุกระดับ เพื่อให้ หน่วยงานทำการปรับปรุง ทั้งอย่างค่อยเป็นค่อยไป และอย่าง ก้าวกระโดด 23

24 เป้าหมายที่จะนำเสนอต่อกรมอนามัย 4
การนำองค์การเชิงยุทธศาสตร์ การปฏิบัติการที่เป็นเลิศ ผลลัพธ์การดำเนินงาน การนำ องค์การ กระบวนการสร้างคุณค่า มิติด้านประสิทธิภาพ ของการปฏิบัติราชการ กระบวนการ สนับสนุน มิติด้านประสิทธิผล ตอบสนองความต้องการและความพึงพอใจ C/SH การจัดทำยุทธศาสตร์ การถ่ายทอด กลยุทธ์หลัก เพื่อนำไปปฏิบัติ มิติด้านคุณภาพ การให้บริการ ระบบปฏิบัติการ มิติด้านการ พัฒนาองค์การ สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ความผาสุกและความ พึงพอใจ ของบุคลากร การเรียนรู้ ของบุคลากร และการสร้าง แรงจูงใจ การจัดการสารสนเทศ และความรู้ การวัดและวิเคราะห์ ผลการดำเนินการ 24

25 Q&A 25

26 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างหน่วยงาน
แนวทางดำเนินการของหน่วยงาน แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างหน่วยงาน 1. การดำเนินงานตัวชี้วัดที่ 5 กลไกการขับเคลื่อนการดำเนินงาน รูปแบบวิธีการดำเนินงาน รายหมวดและภาพรวม ปัญหาอุปสรรค และการแก้ไข ปัจจัยความสำเร็จ 2. สิ่งที่ต้องการรับการสนับสนุนจากกรมอนามัย 3. ข้อเสนอต่อการดำเนินงานพัฒนาองค์การของ กรมอนามัยและหน่วยงาน ปีงบประมาณ พ.ศ.2559 26


ดาวน์โหลด ppt กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร กรมอนามัย

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google