งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผลลัพธ์การศึกษาสถานการณ์ การได้รับยาสลายลิ่มเลือด และค่าใช้จ่าย ของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ในโรงพยาบาลหาดใหญ่ กัลยาณี เกื้อก่อพรม พยม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผลลัพธ์การศึกษาสถานการณ์ การได้รับยาสลายลิ่มเลือด และค่าใช้จ่าย ของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ในโรงพยาบาลหาดใหญ่ กัลยาณี เกื้อก่อพรม พยม."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผลลัพธ์การศึกษาสถานการณ์ การได้รับยาสลายลิ่มเลือด และค่าใช้จ่าย ของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ในโรงพยาบาลหาดใหญ่ กัลยาณี เกื้อก่อพรม พยม. พยาบาลวิชาชีพ 7 โรงพยาบาลหาดใหญ่ วิสันต์ สิรินทรโสภณ พ.บ., พ.บ.อว.อายุรศาสตร์ ว.ว.อายุรศาสตร์โรคหัวใจ จอม สุวรรณโณ สำนักงานภาควิชาการพยาบาล มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

2 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
AMI : เป็นสาเหตุการตายที่สำคัญของประชากรทั่วโลก รวมทั้งประเทศไทย สถิติร.พ.หาดใหญ่ในปี พ.ศ. ตุลาคม ถึง ปี พ.ศ พบว่า

3 ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา (ต่อ)
การบริหารจัดการใจการรักษาพยาบาลที่แตกต่างกัน สภาวะ/โรคที่ผู้ป่วยเป็นอยู่เดิม การมาโรงพยาบาลล่าช้า การไม่เห็นความสำคัญของการรับประทานยา การไม่เห็นความสำคัญของการมาตรวจตามนัด เป็นต้น

4 วัตถุประสงค์ของการศึกษา

5 วัตถุประสงค์ของการศึกษา
ศึกษาสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ศึกษาระยะเวลาการได้รับยาสลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ศึกษาค่าใช้จ่ายในผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน

6 ขอบเขตของการวิจัย การศึกษา : เป็นการศึกษาสถานการณ์ การได้รับยาสลายลิ่มเลือด และค่าใช้จ่ายในผู้ป่วยกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน โรงพยาบาลหาดใหญ่ ตั้งแต่เดือนกันยายน 2543 ถึง ตุลาคม 2545

7 วิธีการดำเนินการศึกษา
การศึกษานี้เป็นการศึกษาย้อนหลังตั้งแต่เดือนกันยายน ถึง ตุลาคม โดยศึกษาจากแฟ้มประวัติ ประชากรคือ แฟ้มประวัติผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน จำนวน ฉบับ กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างจากสูตร ทาโร่ ยามาเน่ ได้จำนวนตัวอย่างทั้งหมดจำนวน ฉบับ

8 การวิเคราะห์ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ดังนี้ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย
วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ดังนี้ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า ที (T-test)

9 ลักษณะข้อมูลทั่วไป

10 ลักษณะข้อมูลทั่วไป (ต่อ)

11 ปัจจัยเสี่ยงที่สามารถควบคุมได้

12 กลุ่มโรคที่เป็นร่วมกับ AMI

13 ลักษณะความรุนแรงของโรค

14 อาการและอาการแสดง

15 ตำแหน่งของโรคที่พบ

16 ภาวะแทรกซ้อน

17 ชนิด AMI การได้รับยา SK

18 สาเหตุที่ไม่ได้รับยา SK

19 Time Pt-ER, Rx-ER, ER-Ward, Door due needle time
Limit การรักษาใน ER = 10 min Limit การรักษาใน ER-SK = 30 min

20 รายการค่าใช้จ่ายจำแนกตามประเภทของค่าใช้จ่าย

21 เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างค่าใช้จ่ายรวม วันนอนโรงพยาบาล กับ ผู้ป่วย AMI ไม่มี/มีภาวะแทรกซ้อน
P < .05 ค่าใช้จ่ายรวมมีค่าเฉลี่ยในผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนกับมีภาวะแทรกซ้อนไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 วันนอนร.พ.มีค่าเฉลี่ยในผู้ป่วยที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนกับมีภาวะแทรกซ้อนไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

22 จำนวน และร้อยละของผู้ป่วยที่จำหน่ายออกจากโรงพยาบาลในผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน กับจำนวนวันนอนโรงพยาบาล (n = 219)

23 ข้อเสนอแนะ ทีมสุขภาพควรส่งเสริมให้ผู้ป่วยมีความรู้/สอนเกี่ยวกับการดูแลตนเองมากยิ่งขึ้น เพื่อลดปัจจัยเสี่ยง แพทย์และพยาบาลผู้ดูแลต้องให้ความสำคัญและดูแลด้วยความรวดเร็ว เพื่อลดระยะเวลาในการได้รับยาสลายลิ่มเลือด ควรปรับปรุงแผนการดูแลหรือแนวทางในการรักษาผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน เพื่อลดวันนอนโรงพยาบาล ค่าใช้จ่าย และการเสียชีวิตในผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตาย เฉียบพลัน

24 ขอบคุณค่ะ 34 น.พ.กมล วีระประดิษฎ์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลหาดใหญ่
น.พ.กมล วีระประดิษฎ์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลหาดใหญ่ รศ.ดร.อรัญญา เชาวลิต คณะบดีคณะพยาบาลศาสตร์ ดร.ศศิธร พุมดวง ภาควิชาสูติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คุณสาลี บุญศรีรัตน์ หัวหน้าพยาบาล กลุ่มงานการพยาบาล คุณสุจินต์ สุรภาคย์พงศ์ รองหัวหน้าพยาบาลฝ่ายวิชาการ โรงพยาบาลศูนย์หาดใหญ่


ดาวน์โหลด ppt ผลลัพธ์การศึกษาสถานการณ์ การได้รับยาสลายลิ่มเลือด และค่าใช้จ่าย ของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน ในโรงพยาบาลหาดใหญ่ กัลยาณี เกื้อก่อพรม พยม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google