งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

Post – Modern Architecture

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "Post – Modern Architecture"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 Post – Modern Architecture
History, Theory & Philosophy of Architecture สัปดาห์ที่ 12/ ครั้งที่ 1 17 ส.ค. 53

2 Modern = Modern Functional Style (before 1960)
modern = Up to date (Present)

3

4

5

6 1925 1969 รูปแบบ Modern Architecture มีผลกระทบด้านลบ เนื่องจาก
ไม่ค่อยคำนึงถึงสภาพแวดล้อมหรือบริบท ไม่ค่อยคำนึงถึงพฤติกรรม สถาปนิกมักมองความคิดและเหตุผลตนเองเป็นหลัก 1925 Le Corbusier, Pessac Housing, Before and After, 1925 & 1969 1969

7 พวกต่อต้านมองว่า Functionalism International Style กร้าว กระด้าง เย็นชา Konstantin Melnikov, Russakov Club, Moscow, 1928

8 “Post – Modern” หรือ “หลังสมัยใหม่”
มองหาแนวทางที่ตรงกันข้าม เรียกว่า “Post – Modern” หรือ “หลังสมัยใหม่” คำนี้กำเนิดในปี ค.ศ โดย Charles Jencles (สถาปนิกและนักวิจารณ์ชาว USA)

9 ในช่วงต้นของ PoMo มีกลุ่มต่างๆ พยายามสร้างแนวทางใหม่
กลุ่มขาว (The Whites) กลุ่มเทา (The Grays) กลุ่มตรรกยะ (The Rationalists หรือ The Rats)

10 กลุ่มขาว (The Whites) สถาปนิก: ปีเตอร์ ไอเซนแมน ริชาร์ด ไมเออร์ ไมเคิล เกรฟส์ แนวคิด: หันกลับไปนิยมแนวทางการออกแบบของ เลอ คอร์บูซิเอร์ ที่เน้นความบริสุทธิ์ในลักษณะนามธรรมแสดงความหมายของสถาปัตยกรรมที่เกี่ยวกับโครงสร้าง

11 Michael Graves’ s Work, Benacerraf House addition, Princeton, 1969 (below) Hanselmann House, Fort Wayne, Indiana, 1967 – 8 (top left) Synderman House, Fort Wayne, Indiana, 1972 (top left)

12 Richard Meier, Douglas House, Harbor Springs, Michigan, 1971 - 3

13 Douglas House Richard Meier

14 2. กลุ่มเทา (The Grays) สถาปนิก: โรเบิร์ต เวนทูรี่ ชาร์ลส์ มัวร์ โรเบิร์ต สเทิร์น แนวคิด: เป็นผู้นำสถาปัตยกรรมชาวบ้าน (Pop Architecture) เป็นกลุ่มที่สอดคล้องกับแนวทาง POMO คือมีชีวิตชีวา ซับซ้อน หลากหลาย ผสมผสาน บิดเบือน สื่อความหมาย คลุมเครือ ขัดแย้ง ไม่แน่นอน

15 “Less is Bore” “Pop Arch.” Franklin Court House Robert Venturi

16 Moore’ Projects House Piazza de Italia

17 Robert Stern & John Hagmann Westchester Residence Armonk, NY, 1974 - 6

18 3. กลุ่มตรรกยะ (The Rats)
สถาปนิก: อัลโด รอสซี ริคาร์โด โบฟิล แนวคิด: ยึดถือเหตุผลหรืออุดมการณ์ทางการเมืองตามแนวของมาร์กซิสต์ ไม่ปรากฏสิ่งประดับที่แสดงการแบ่งแยกชนชั้น อิงแบบคลาสสิกในการจัดองค์ประกอบ

19 School at San Sabba โพสต์โมเดิร์นแบบนีโอ-โมเดิร์น
(Neo- Modern Post-Modern) เป็นแนวทางที่เพิ่งเริ่มมุ่งสนใจประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมเฉพาะช่วงเริ่มต้นของศตวรรษที่ 20 รวมทั้งยังสนใจรูปแบบสถาปัตยกรรมโบราณ โดยเฉพาะรูปแบบกรีก-โรมัน แต่มีลัทธิความเสมอภาคแฝงอยู่ ผังอาคารตรงไปตรงมา ส่วนใหญ่มีลักษณะสมดุล (Symmetry) หรือมีลาน (Court) อาคารมีลักษณะเกลี้ยงๆ ดูมีหลักการอย่างพิถีพิถัน มีรายละเอียดแต่ไม่ฉาบฉวย ยอมรับการประดับประดาแต่ไม่ใช่เปรอะไปหมด เน้นการก่อสร้างและใช้วัสดุที่เหมาะสม เป็นแนวทางของสถาปนิกยุคใหม่ที่แสดงออกอย่างยับยั้งชั่งใจ School at San Sabba Architect : Aldo Rossi

20

21 Fascist Architecture in Italy

22 The New York 5 Richard Meier Michael Graves John Hejduk
Charls Gwathmey Peter Eisenman

23 ความเข้าใจเบื้องต้นต่อ Post – Modern Architecture
เป็นสถาปัตยกรรมที่ประกอบไปด้วยหลายแนวทาง อิงรูปแบบสถาปัตยกรรมโมเดิร์น แต่บวกภาษาอื่นเข้าไป (Double-Coding) ไม่มีรูปแบบสถาปัตยกรรมใหม่อย่างแท้จริง

24

25 สนามบินสมุย สถาปนิก : บริษัทแฮบบิตา จำกัด

26 อาคารสำนักงานใหญ่ มูลนิธิป่อเต็กตึ๊ง
บริษัท แปลน แอสโซซิเอทส์ จำกัด

27 Las Vegas, Direct Symbolic Expression

28 TWA Building, New York, 1962 : Eero Saarinen

29

30 ข้อสรุปเปรียบเทียบระหว่างสถาปัตยกรรม Modern & Post – Modern
แนวคิดมูลฐาน แบบอย่างอาคาร ความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม

31 1. แนวคิดมูลฐาน Modernism Post - Modernism ตอบสนองสังคมอุตสาหกรรม
อาคารมีแบบซ้ำๆกัน (International Style) Form ไม่สื่อความหมายเฉพาะ Machine Aesthetics Art+Techno สถาปนิก=พระเอก เป็นปัจเจกชน ตอบสนองแต่ละกลุ่มสังคม วัฒนธรรม อาคารมีหลากหลายตามปัจจัยที่เกี่ยวข้อง เน้นสื่อความหมายทางสัญลักษณ์ เน้นสุนทรียภาพที่แปรผันตามบริบท (Contextualism) + อิงตามการใช้สอย สถาปนิก+เจ้าของงาน+สังคม (Pluralism) 1. แนวคิดมูลฐาน

32 Piazza d’ Italia นิวออร์ลินส์ รัฐหลุยส์เซียน่า ปี 1975 – 80 โดย ชาร์ลส์ มัวส์ ร่วมกับสถาปนิกท้องถิ่น สภาพแวดล้อมของอาคาร (Context) หน้าที่ใช้สอย (Function) วัฒนธรรมของชุมชน

33 เป็นศูนย์กลางชุมชนของชาวอิตาเลียน หรือเป็นหัวใจของชุมชนตามแนวทางโพสต์โมเดิร์น
เป็นสถานที่ที่มีชีวิตชีวา สอดคล้องกับวัฒนธรรมท้องถิ่นของอเมริกันเชื้อสายอิตาเลียน มีลานโล่งสำหรับการชุมชุมในประเพณีต่างๆ มีน้ำพุคล้ายกับน้ำพุเทรวิในกรุงโรม ใช้เสาตามระเบียบการจัดเสาแบบอิตาเลียน (5 แบบ) มีส่วนที่แสดงเป็นผังประเทศอิตาลี เป็นการเลือกเฟ้นลักษณะเด่นจากอดีตอย่างมีเหตุผล (Radical Eclecticism) มีการคำนึงถึงอาคารข้างเคียง คำนึงถึงวัฒนธรรมผู้ใช้ที่ต้องการความหลากหลายในหน้าที่ใช้สอยของอาคาร สะท้อนถึงแนวทางประวัติศาสตร์นิยม (Historicism) บริบทนิยม (Contextualism) และพหุนิยม (Pluralism)

34 2. แบบอย่างอาคาร Modernism Post - Modernism
เรียบง่าย ตรงไปตรงมา โปร่ง สะอาด ต่อต้านการตกแต่งประดับประดา อาคารมีลักษณะบริสุทธิ์ เน้นรูปทรงเชิงนามธรรม เป็นกล่อง ไม่ให้ความสำคัญกับความหมายของรูปทรง รูปแบบจืดชืด เย็นชา จำกัด ซับซ้อน หักเห ผสมผสาน (Pluarlism) ตกแต่ง ประดับประดา อาคารมีลักษณะหลากหลาย โดยเลือกมาจากสิ่งเด่นๆในอดีต (Eclecticism) ความหมายของรูปทรงเป็นส่วนสำคัญ ได้จากการอุปมา หรืองานในอดีต (Metaphor & Analogy) รูปแบบหลากหลาย สนุกสนาน นิยมการรวมองค์ที่แตกต่างไว้ด้วยกัน (Collage) 2. แบบอย่างอาคาร

35 AT & T Building นิวยอร์ค ปี 1978 – 1983 โดย ฟิลิป จอห์นสัน ร่วมกับ จอห์น เบอร์กี ตัวอาคารประกอบด้วย 3 ส่วนคือ ส่วนฐาน ส่วนลำตัว และส่วนยอด ส่วนฐานคล้ายกับ Pazzi Chapel ในฟลอเลนซ์ ส่วนลำตัวคล้ายกับโครงสร้างอาคารสูงของหลุยส์ ซัลลิแวน ส่วนยอด เอารูปแบบมาจากหัวตู้ขาสูงแบบชิปเปนเดล (Chippendale Highboy) ของอังกฤษในศตวรรษที่ 18

36 Chippendale Chair AT&T Building Philip Johnson

37 Portland Public Service Building 1980-1982 Michael Grave
“Pop - Surrealism” ใช้องค์ประกอบคราสสิคอย่างบิดเบือน

38 P l u r a l i s m Franklin Israel, Goldberg-Bean Residence, Hollywood Hills, 1991

39 3. ความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม
Modernism Post - Modernism กลมกลืนกับบริบท เป็นส่วนหนึ่งของผังและชุมชน (Contextualism) ผสมผสานส่วนใช้สอยต่างๆ ไว้ด้วยกันในอาคาร มักอยู่ริมถนน เกิดการใช้สอยที่ต่อเนื่อง มีชีวิตชีวา โดดเดี่ยว ขัดแย้งกับบริบท เพื่อให้อาคารดูโดดเด่น แยกอาคารเป็นหลังๆ ตามหน้าที่ใช้สอยเฉพาะ 3. ความสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อม

40 Carre d’ Art : Norman Foster

41

42 Neo-Vernacular เป็นรูปแบบที่ผสมกันระหว่าง Modern กับอาคารก่ออิฐในศตวรรษที่ 19 เป็นรูปแบบที่ให้ความรู้สึกถึงความอบอุ่นเหมือนบ้านด้วยผนังอาคารจะเน้นการก่ออิฐโชว์แนวเป็นหลัก “Brick is Humanist” ให้ความรู้สึกทึบ หนา หนัก แสดงถึงความอบอุ่นและปลอดภัย หลังคามี Slope แสดงถึงต้อนรับ มีการทอน Scale ของรูปทรงอาคาร สื่อให้ถึงการไม่ข่มคน มี Semi-Private Space ส่วนใหญ่มักเป็นอาคารประเภทที่อยู่อาศัย (Housing) ที่มีกี่ออกแบบสวนเล็กๆ (Semi-Private Space) ตลอดจนถึงการออกแบบภูมิทัศน์เพื่อช่วยแก้ไขปัญหาชุมชนเมืองที่แออัด

43 Pruitt-Igoe Housing เซนต์หลุยส์ รัฐมิสซูรี่
ออกแบบในปี 1951 ด้วยความคิดก้าวหน้าของ CIAM (The Congress of International Modern Architects) และเป็นตึกที่ได้รางวัลจาก AIA (American Institute of Architects) มีลักษณะเป็นกล่องเรียบ มี 14 ชั้น มี “Streets in the Air”

44

45 วันที่ 15 ก.ค เวลา ซึ่งเป็นวันเวลาที่ตึก Pruitt-Igoe Housing เซนต์หลุยส์ รัฐมิสซูรี่ ถูกระเบิดทิ้ง

46 Robin Hood Gardens

47 Darbourne & Darke, Pimlico Housing, 1961 - 8

48 Darbourne & Darke, Pimlico Housing, 1961 - 8

49 Darbourne & Darke, Pershore Housing, 1976 - 7


ดาวน์โหลด ppt Post – Modern Architecture

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google