งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

นางสาว วิลิปดา คิดปราโมทย์ เลขที่ 9 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 นำเสนอ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "นางสาว วิลิปดา คิดปราโมทย์ เลขที่ 9 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 นำเสนอ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 นางสาว วิลิปดา คิดปราโมทย์ เลขที่ 9 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 นำเสนอ
เทคโนโลยีสมัยใหม่ จัดทำโดย นางสาว วิลิปดา คิดปราโมทย์ เลขที่ 9 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 นำเสนอ ครูนภัสสร วงศรีคุณถาวร โรงเรียนจักรคำคณาทร จังหวัดลำพูน

2 "Betaray" นวัตกรรมลูกแก้วมหัศจรรย์ เก็บเกี่ยวแสงจากดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์และเมฆได้
“Rawlemon” บริษัทเทคโนโลยีจากสเปน ได้ออกแบบนวัตกรรมลูกแก้วมหัศจรรย์ มีประสิทธิภาพมากกว่าแผงเซลล์แสงอาทิตย์ทั่วไปถึงร้อยละ 35  “Betaray”  เป็นนวัตกรรมพลังงานจากบริษัทผู้ผลิต “Rawlemon” ถูกออกแบบให้มีลักษณะเป็นลูกแก้วทรงกลมโปร่งใส เชื่อมต่อกับโครงเหล็กเพื่อการติดตามแสง ซึ่งสามารถเก็บเกี่ยวพลังงานได้ทั้งจากดวงอาทิตย์และดวงจันทร์ ให้ประสิทธิภาพมากกว่าแผงเซลล์แสงอาทิตย์แบบมีแกนติดตามถึงร้อยละ 35 

3 นวัตกรรมชิ้นนี้นั้นสามารถเปลี่ยนแสงแดดไปเป็นได้ทั้งไฟฟ้าและพลังงานความร้อน ซึ่งผลงานสิ่งประดิษฐ์ได้ผ่านเข้ารอบสุดท้ายในงานประกวดเทคโนโลยีโลก ทำให้บริษัทผู้ผลิตมีแรงจูงใจในการพัฒนารุ่นต่อมาให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น    ซึ่งรุ่นต่อมาได้ถูกออกแบบให้สามารถมุ่งเน้นไปที่การกระจายแสงและสร้างลำแสงจากพลังงานจากดวงอาทิตย์ได้ ไม่เพียงแค่นั้น นวัตกรรมชิ้นนี้ยังสามารถเก็บเกี่ยวพลังงานได้จากดวงจันทร์รวมไปถึงเมฆที่เป็นสีเทา ในขณะที่การแปลงพลังงานของแผงเซลล์แสงอาทิตย์ทั่วไปต้องใช้แสงมากกว่าถึง 4 เท่าก่อนที่จะผลิตพลังงานออกมา 

4 In 2012, Inhabitat featured an invention that promised to turn the world of solar power generation upside down. Rawlemon‘s spherical solar energy-generating globe looked a lot like a giant glass marble on a robotic steel frame, but there was nothing raw about what it achieved: the sun-tracking device was capable of concentrating sunlight (and moonlight) up to 10,000 times–making it 35 percent more efficient than traditional dual-axis photovoltaic designs. Bolstered by the incredible enthusiasm for their first design, the scientists at Rawlemon are back with an updated version–behold the Betaray!

5 อาคารเรือต้านภัยพิบัติ ยืนหยัดด้วยระบบพึ่งพาตนเอง
Remistudio บริษัทสถาปัตยกรรมจากรัสเซีย เจ้าของผลงานการออกแบบเรือยักษ์ ที่คำนึงถึงสภาพแวดล้อมและมีระบบการพึ่งพาตนเอง ซึ่งแนวคิดนี้อยู่ในโครงการออกแบบ "สถาปัตยกรรมเพื่อบรรเทาภัยพิบัติ" สามารถสร้างขึ้นในสภาพอากาศที่แตกต่างกันรวมไปถึงในภูมิภาคที่อันตราย เนื่องจากชั้นใต้ดินเป็นโครงสร้างเปลือกไร้หินหรือมุม พร้อมระบบการแบกรับช่วยในการกระจายน้ำหนักกรณีที่เกิดแผ่นดินไหวได้ 

6 โดยอาคารเรือแห่งนี้มีระบบพลังงานที่ได้จากการติดตั้งแผงโซลาเซลล์ในมุมที่เหมาะสมในการรับแสงอาทิตย์ โดมในส่วนบนนั้นจะรวบรวมอากาศร้อนไปไว้ในแบตเตอรี่เก็บไฟฟ้า เพื่อใช้เป็นพลังงานสำรองในยามฉุกเฉิน หากสภาพแวดล้อมภายนอกอาคารนั้นเกิดผกผัน ยิ่งไปกว่านั้น ทั้งอากาศภายนอก น้ำ หรือพื้นที่ร้อนก็ถูกนำมาใช้เช่นเดียวกัน

7 การปลูกต้นไม้เป็นขั้นตอนต่อไปที่คำนึงถึงสภาพแวดล้อมบนเรือ พื้นที่สูงโปร่งแสงภายในนั้นสร้างมาเพื่อการเจริญเติบโตของพืชที่ถูกปลูกขึ้น พร้อมด้วยระเบียงที่เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจได้เป็นอย่างดี  โครงสร้างความแข็งแรงมาจากการบีบอัดของซุ้มไม้โค้งและสายเหล็กที่ขึงตึง มีการปกคุลมด้วยฟอยด์พิเศษที่ทำจาก Ethyltetrafluoroethylene( ETFE) ซึ่งเป็นวัสดุที่แข็งแรงและโปร่งใส่  สามารถทำความสะอาดตัวเอง  คงทน  ต้นทุนต่ำและมีน้ำหนักเบากว่าแก้ว  ยิ่งไปกว่านั้นฟอยด์ยังติดอยู่กับโลหะพิเศษที่สามารถสะสมพลังงานแสงอาทิตย์สำหรับการทำน้ำร้อน และเป็นท่อลำเลียงเพื่อเก็บน้ำฝนจากหลังคาอีกด้วย

8 บรรณานุกรม


ดาวน์โหลด ppt นางสาว วิลิปดา คิดปราโมทย์ เลขที่ 9 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/5 นำเสนอ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google