งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เวชศาสตร์ฟื้นฟูสู่การปฏิบัติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เวชศาสตร์ฟื้นฟูสู่การปฏิบัติ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เวชศาสตร์ฟื้นฟูสู่การปฏิบัติ
“21-23 พ.ค.555” ภาควิชาเวชศาสตร์ฟื้นฟู คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล By...นงลักษณ์,จิราภรณ์,ชัญญา,มะลิวัลย์ Powerpoint Templates

2 1.ฟื้นฟูดูแลผู้ป่วยใน 1.1.ทำอย่างไรให้ผู้ป่วยฟื้นตัวเร็ว
ปัญหาที่พบผู้ป่วยที่สูงอายุ มีโรคแทรก การรักษา – บริหารปอด - ป้องเกิดแผลกดทับ - ระวังติดเชื้อทางเดินปัสสาวะ - การฟื้นฟูสภาพ ข้อติด กระตุ้นลุกนั่ง/เดินให้ เร็วที่สุด

3 1.ฟื้นฟูดูแลผู้ป่วยใน(ต่อ)
1.2.การระบายเสมหะเรื่องที่ควรรู้ “เทขวดซอสมะเขือ” Percussion (การเคาะ) - ใช้อุ้งมือเคาะที่ผนังทรวงอก ข้อห้าม คือ อกช้ำ, Bleed ง่าย, มีเนื้อร้ายเกาะกิน Postural Drainage (การระบาย) Upper Lobes ใช้หลักพิงหน้าเคาะหลังพิงหลังเคาะบนนอนกรนเคาะหน้า - Middle Lobes นอนตะแคงศีรษะต่ำ ยกขาสูง 14 นิ้ว - Lower Lobes นอนคว่ำหรือตะแคงยกขาสูง 18 นิ้ว หรือนอนคว่ำหมอนรอง ใต้ท้อง

4 1.ฟื้นฟูดูแลผู้ป่วยใน(ต่อ)
Vibration (แรงสั่นสะเทือน) กดและสั่นสะเทือนพร้อมกันช่วงหายใจออกที่ทรวงอก Cough (การไอ) - หายใจเข้าลึกๆ กลั้นหายใจ ไอแรงๆ 1 ครั้ง - ท่านั่งกอดหมอนด้านหน้าอก - ท่านอนพิงหลังศีรษะสูง 60 องศา กอดหมอนด้านหน้าอก - กรณีไอเองไม่ได้ ให้ใช้แรงสั่นสะเทือน โดยใช้สองมือกดที่ทรวงอกหรือหน้าท้องใต้ลิ้นปี่ช่วงหายใจออกเพื่อช่วยกระตุ้นให้ไอหรือช่วงที่ไอเพื่อให้ไอได้ดีขึ้น

5 1.ฟื้นฟูดูแลผู้ป่วยใน(ต่อ)
1.3.กระดูกบาง/กระดูกพรุน...การป้องกันดูแล ปัจจัยเสี่ยง - แก้ไขไม่ได้ เพศหญิง, อายุมากกว่า 65 ปี, ผิวขาว, กรรมพันธุ์, ยากลูโคคอร์ติคอย/กันชัก ต้านการแข็งตัวของเลือด กดภูมิคุ้มกันและยารักษาโรคมะเร็ง - แก้ไขได้ พฤติกรรม เช่น ดื่มสุรา,สูบบุหรี่,ดื่มกาแฟ,น้ำอัดลม ไม่ออกกำลังกาย,ขาดแคลเซี่ยม,น้ำหนักตัวน้อย BMI ต่ำกว่า 19 กก/ตรม,

6 1.ฟื้นฟูดูแลผู้ป่วยใน(ต่อ)
ปัจจัยที่มีผลต่อการดูดซึมแคลเซี่ยม ได้แก่ ดื่มกาแฟปริมาณมาก อาหารมังสาวิรัติ, ยาลดกรดผสมแมกนีเซียม, ยาบำรุงเลือด การออกกำลังกายช่วยเสริมสร้างความแข็งแรงของกระดูก ได้แก่ การลงน้ำหนัก เช่น เดิน วิ่ง ปั่นจักรยาน รำมวยจีน นาที ต่อวัน 3-5 ครั้งต่อสัปดาห์

7 2.ฟื้นฟูดูแลอาการปวด 2.1.ปวดเส้น/กล้าม พยายามหาสาเหตุและรักษาตามสาเหตุ
ถ้าไม่พบสาเหตุหรือรักษาที่สาเหตุไม่หายขาด ให้รักษาที่กล้ามเนื้อ โดย ยารับประทาน/แก้ปวด/ต้านอักเสบ/คลายกล้ามเนื้อ, ประคบ อุ่น/ร้อนหรือเย็น, ออกกำลังกายยืดเหยียดกล้ามเนื้อ, นวดกดจุด, ฝังเข็มหรือฉีดยาเข้าบริเวณที่ปวด เช่นยาชา สเตียรอยด์ โบทอกซ์

8 2.ฟื้นฟูดูแลอาการปวด(ต่อ)

9 2.ฟื้นฟูดูแลอาการปวด(ต่อ)
2.2.กดจุดหยุดปวด เน้นที่ Trigger Point ซึ่งเป็นกล้ามเนื้อที่ตึงให้คลายตัว ไม่รีบจนกล้ามเนื้อระบมอาจทำให้กล้ามเนื้ออักเสบและปวดมากขึ้นได้

10 2.ฟื้นฟูดูแลอาการปวด(ต่อ)

11 2.ฟื้นฟูดูแลอาการปวด(ต่อ)
2.3.ปวดเข่า...เข่าเสื่อม ป้องกันและบรรเทาได้ ปัจจัยเสี่ยง ได้แก่ อายุมากขึ้น, เพศหญิงมากกว่าเพศชาย, ความอ้วน, ได้รับบาดเจ็บหรือใช้งานผิดวิธี อาการและอาการแสดง ได้แก่ ปวดข้อ, ข้อฝืด, การทำงานเสีย มีเสียงในข้อขณะเคลื่อนไหว, องศาการเคลื่อนไหวลดลง, ข้อผิดรูป, กล้ามเนื้อรอบเข่าฝ่อลีบ การรักษาแบ่งเป็น 3 ประเภทคือใช้ยา, ผ่าตัดและไม่ใช้ยา ได้แก่ ให้ความรู้, บรรเทาอาการปวด, คงสภาพหรือฟื้นฟูสภาพ การทำงานของข้อ, ให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี, ฟื้นฟูสภาพ จิตใจของผู้ป่วย

12 2.ฟื้นฟูดูแลอาการปวด(ต่อ)

13 2.ฟื้นฟูดูแลอาการปวด(ต่อ)
2.4.เคล็ดลับการรักษาอาการปวดหลัง แนะนำท่าที่เหมาะสมในการทำงาน เช่น ยกของ นั่ง เดิน ยืน จัดเรียงของที่สูง แนะนำการออกกำลังกายลดปวดด้วยการยืดเหยียดกล้ามเนื้อ รักษาด้วยยา, ความร้อน/เย็น, นวด, ยึดตรึงกล้ามเนื้อ


ดาวน์โหลด ppt เวชศาสตร์ฟื้นฟูสู่การปฏิบัติ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google