งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้นในเด็ก (Basic CPR)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้นในเด็ก (Basic CPR)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้นในเด็ก (Basic CPR)
อำไพพร ก่อตระกูล ภาคฯการพยาบาลกุมารฯ คณะพยาบาลศาสตร์ มอ. FB: Ampaiporn Kautrakool

2 ความคาดหวัง?  รู้ เข้าใจ & ตระหนักถึงความสำคัญ
 รู้ เข้าใจ & ตระหนักถึงความสำคัญ  รู้ & เข้าใจ หลักการและวิธีการเบื้องต้น  สามารถช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลักได้  สามารถช่วยเหลือเมื่อน้องไม่หายใจและช่วยนวดหัวใจเมื่อหัวใจหยุดเต้นได้

3 WHY? ทำไมถึงสำคัญ

4 WHY? ทำไมถึงสำคัญ? Chain of Survival

5 Chain of Survival จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย และป้องกันอุบัติเหตุ
จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย และป้องกันอุบัติเหตุ เริ่ม CPR ให้เร็วที่สุด โดยเน้นการกดหน้าอก ขอความช่วยเหลือจากศูนย์กู้ชีพฉุกเฉินให้เร็วที่สุด ** บันทึกเบอร์โทฯหน่วยที่ใกล้ที่สุด** นำส่งสถานพยาบาลที่มีความพร้อมเพื่อให้ได้รับ การกู้ชีพขั้นสูงให้เร็วที่สุด ให้การดูแลหลังการกู้ชีพ

6 WHY? ทำไมผู้ดูแลฯต้อง CPR ได้
เราอยู่กับ “เด็กปฐมวัย” เสี่ยงต่อการเกิดบาดเจ็บ เล็กน้อย-ถึงชีวิต: ทางเดินหายใจอุดกั้น จากการสำลักสิ่งแปลกปลอม ที่เด็กคว้าเข้าปาก

7 WHY? ทำไมวัยเด็กจึงเสี่ยง
1. สาเหตุจากตัวเด็ก  ธรรมชาติตามวัย:  ร่างกายยังเจริญเติบโตไม่พร้อมสมบูรณ์  จิตใจ-อารมณ์-พัฒนาการยังไม่พร้อมสมบูรณ์  สัญชาติญาณ-อยากรู้อยากเห็น  เพศ: ชาย > หญิง

8 WHY? ทำไมวัยเด็กจึงเสี่ยง
2. สาเหตุจากผู้ดูแล:  ขาดความเอาใจใส่  ไม่รอบคอบ/ระมัดระวัง/ประมาท-เลินเล่อ  สภาพร่างกาย/จิตใจ/อารมณ์ไม่คงที่ ป่วย โกรธ เครียด เศร้าโศก ฯลฯ

9 WHY? ทำไมวัยเด็กจึงเสี่ยง
3. สาเหตุจากสิ่งแวดล้อม  การใช้ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ไม่ถูกต้อง  ธรรมชาติ: ฝนตก น้ำท่วม  กายภาพ: สิ่งแวดล้อมภายใน-ภายนอกฯ

10 Chain of Survival-1 การป้องกันอุบัติเหตุ-จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย

11 Chain of Survival-1 การป้องกันอุบัติเหตุ-จัดสิ่งแวดล้อมให้ปลอดภัย
1. ผู้ดูแลฯ - มีสติ - รู้เรื่องเกี่ยวกับเด็ก - หมั่นตรวจความปลอดภัยของวัสดุ/เครื่องใช้ 2. สอนเด็ก - สอนด้วยเหตุผล ไม่ขู่/คาดโทษ - เป็นแบบอย่างที่ดี

12 เริ่ม CPR ให้เร็วที่สุด โดยเน้นการกดหน้าอก
Chain of Survival-2 เริ่ม CPR ให้เร็วที่สุด โดยเน้นการกดหน้าอก

13 รู้ได้อย่างไรว่าน้องสูดสำลัก?
Universal Sign

14 การปฐมพยาบาลเมื่อน้องสูดสำลัก
1. ไอแรงๆ ได้-พูดได้-หายใจปกติ  รีบนำส่ง รพ. ห้าม!! ใช้นิ้วล้วงคอ จะดันสิ่งแปลกปลอมลึกจนอุดกั้น ทางเดินหายใจ 2. หายใจไม่ได้ หน้าเขียว เล็บเขียว ไอไม่ออก พูดไม่ออก  รีบให้ความช่วยเหลือ จะช่วยได้อย่างไร

15 การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก
1. กรณีที่เด็กยังรู้สึกตัวดี ใช้วิธี "รัดท้องอัดยอดอก" หรือ "รัดอัดท้อง”  ผู้ช่วยเหลือยืนข้างหลังเด็ก ใช้แขน 2 ข้างโอบรอบเอวเด็ก  ผู้ช่วยเหลือกำหมัดข้างหนึ่ง วางบริเวณเหนือสะดือเด็กเล็กน้อย ใต้ต่อกระดูกอ่อน "ลิ้นปี่”

16 การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก
วิธี "รัดท้องอัดยอดอก" หรือ "รัดอัดท้อง” (ต่อ)  ใช้มืออีกข้างจับมือข้างที่ กำหมัดไว้แล้ว อัดเข้าท้อง แรงๆ เร็วๆ ขึ้นไปข้างบน คล้ายกับพยายามยกเด็กขึ้น ทำซ้ำๆ หลายๆ ครั้ง จนกว่าสิ่งแปลกปลอม จะหลุดออกมา หรือจนกว่า เด็กจะหมดสติ

17 การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก
2. กรณีที่เด็กหมดสติ  จับเด็กนอนหงายบนพื้น

18 การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก
2. กรณีที่เด็กหมดสติ (ต่อ)  เปิดทางเดินหายใจ ด้วยวิธี "เงยหน้า-เชยคาง” (Head tilt-chin lift)

19 การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก
2. กรณีที่เด็กหมดสติ (ต่อ)  ตรวจในช่องปาก

20 การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก
2. กรณีที่เด็กหมดสติ (ต่อ) ถ้ามองเห็นสิ่งแปลกปลอม ชัดเจน ให้ใช้นิ้วชี้ค่อยๆ เขี่ยและเกี่ยวออกมา ระวัง!!! อย่าดันแรงเกินไป  หลุดเข้าไปลึกยิ่งขึ้น

21 การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก ถ้าหน้าอกไม่ยกขึ้นให้ทำข้อ 5!!
2. กรณีที่เด็กหมดสติ (ต่อ)  ช่วยหายใจ: เป่าปาก 2 ครั้ง  หน้าอกยกขึ้น เป่าลมหายใจให้ต่อไป เด็กโต ~ ครั้ง/นาที เด็กเล็ก~ ครั้ง/นาที ถ้าหน้าอกไม่ยกขึ้นให้ทำข้อ 5!!

22 การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก
2. กรณีที่เด็กหมดสติ (ต่อ)  อัดท้อง 6-10 ครั้ง ในท่านอนหงาย ทำจนสิ่งแปลกปลอมหลุด หรือผู้ป่วยหายใจเองได้

23 การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก
2. กรณีที่เด็กหมดสติ (ต่อ)  ตรวจดูช่องปากอีกครั้ง เขี่ย&เกี่ยวสิ่งแปลกปลอม ที่เห็นออก

24 การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก
2. กรณีที่เด็กหมดสติ (ต่อ)  ถ้าสิ่งแปลกปลอมยังไม่หลุด ออกมาหรือเด็กยังหายใจเองไม่ได้ ให้ทำตามข้อ 4-6 ไปเรื่อยๆ จนกว่า จะถึงโรงพยาบาล

25 การช่วยเหลือเมื่อน้องสูดสำลัก
2. กรณีที่เด็กหมดสติ (ต่อ)  ถ้าเด็กไม่หายใจ & ไม่ขยับเลย ให้เป่าปากและนวดหัวใจแทน จนกว่าจะถึงโรงพยาบาล **การนวดหัวใจ อาจช่วยให้ สิ่งแปลกปลอมหลุดออกมาได้ อย่าลืม!! หมั่นตรวจเช็คช่องปาก ตามข้อ 3 เป็นระยะ

26 WHAT? CPR คือ ... ปฏิบัติการช่วยชีวิตคนที่หัวใจหยุดเต้นและหยุดหายใจกะทันหัน

27 CPR มีกี่ระดับ ?  การช่วยกู้ชีพขั้นพื้นฐาน (Basic Life Support: BLS) เป็นการช่วยชีวิตคนที่หัวใจหยุดเต้นหรือเต้นอ่อนแรง โดยมุ่งการช่วยเหลือฉุกเฉินให้มีอากาศและเลือดไหลเวียนไปเลี้ยงร่างกาย  การช่วยกู้ชีพขั้นสูง (Pediatric Advanced Life Support: PALS) เป็นการกระตุ้นให้หัวใจกลับมาทำงานโดยอาศัยเครื่องมือและยา

28 WHO? ใครสามารถ CPR ได้ ทุกคน

29 WHOM? ใครต้องการการ CPR
ทุกคนที่หมดสติ

30 HOW? CPR ทำอย่างไร ...

31 HOW? CPR ทำอย่างไร ...

32 HOW? CPR มีขั้นตอนอย่างไร
1. สำรวจสถานที่เกิดเหตุ:  ปลอดภัย/อันตราย 2. ประเมินการตอบสนอง:  เปิดทางเดินหายใจ  ประเมินการหายใจ ( < 5 วินาที)

33 HOW? CPR มีขั้นตอนอย่างไร
3. ขอความช่วยเหลือ  เตรียม AED (ถ้ามี)

34 HOW? CPR มีขั้นตอนอย่างไร
4. กดนวดหัวใจ 30 ครั้ง:  วางมือกึ่งกลางหน้าอก  กดลึก 1/3 ของลำตัว  กดเร็ว ≥100 ครั้ง/นาที

35 HOW? CPR มีขั้นตอนย่างไร ...
5. เปิดทางเดินหายใจ & ช่วยหายใจ 2 ครั้ง  "เงยหน้า-เชยคาง” (Head tilt-chin lift)  บีบจมูก ประกบปากเด็กให้สนิท  ช่วยหายใจด้วยการเป่าปาก หรือผ่าน Mask  ช่วยหายใจทุก ๆ หนึ่งวินาที

36 HOW? CPR มีขั้นตอนย่างไร ...
6. CPR ต่อเนื่องจนกว่าความ ช่วยเหลือจะมาถึง:  ถ้า AED มาถึง เปิดเครื่อง และทำตามคำแนะนำ

37 ไม่อยากเป่าปาก CPR ได้ไหม? อย่างไร?
(

38 HOW? CPR ทำอย่างไร ... 3-C’s for CPR  CHECK  CALL  CARE

39 สรุป ขั้นตอนการทำ CPR


ดาวน์โหลด ppt การช่วยฟื้นคืนชีพเบื้องต้นในเด็ก (Basic CPR)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google