งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดทำงบประมาณ 2556 ศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดทำงบประมาณ 2556 ศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดทำงบประมาณ 2556 ศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
สุทัสสา นาครทรรพ

2 หลักสำคัญในการจัดทำงบประมาณงบประมาณปี 2556
ศูนย์บริการสาธารณสุขต้องจัดทำงบประมาณเอง งบประมาณจะต้องรวมทุกแหล่งที่มาของรายได้ งบประมาณจะจัดตามผลผลิตและกิจกรรมตาม โครงสร้างแผนงาน งบประมาณจะถูกแบ่งเป็น งานประจำ งานยุทธศาสตร์ และงบประมาณลงทุน

3 ศูนย์ ต้องแสดงปริมาณผลผลิตของงานประจำ
รายจ่ายใดที่จัดหาโดยหน่วยงานอื่น ศูนย์จะต้องบอกรายการและจำนวนที่ต้องการให้กับหน่วยงานนั้นๆ งบประมาณยุทธศาสตร์จะต้องตอบสนองต่อยุทธศาสตร์และกลยุทธ์ของผู้ว่า สำนักงบประมาณ จะพิจารณางานประจำ สำนักยุทธศาสตร์ จะพิจารณาโครงการยุทธศาสตร์และโครงการงลทุน

4 อย่าปล่อยให้เจ้าหน้าที่ธุรการทำคนเดียว ควรร่วมกันทำ
ศูนย์บริการสาธารณสุขต้องจัดทำงบประมาณเอง จากเดิมที่สำนักงานเลขาเป็นผู้จัดทำงบประมาณ ในระบบใหม่ ศูนย์บริการสาธารณสุขต้องประมาณการงบประมาณการที่ใช้ภายในศูนย์เอง และส่งมารวบรวมที่สำนักงานเลขา อย่าปล่อยให้เจ้าหน้าที่ธุรการทำคนเดียว ควรร่วมกันทำ

5 งบประมาณจะรวมรายจ่ายทุกประเภท จากทุกแหล่งที่มาของรายได้
งบประมาณจะต้องรวมทุกแหล่งที่มาของรายได้ เงินอุดหนุน รัฐบาล เงินรายได้ กทม เงินบำรุง เงินบริจาค สปสช งบประมาณจะรวมรายจ่ายทุกประเภท จากทุกแหล่งที่มาของรายได้

6 งบประมาณจะต้องรวมทุกแหล่งที่มาของรายได้
แผนงานอนามัยสาธารณสุข งานประจำ งานยุทธศาสตร์ งบประมาณ กทม xxx,xxx xx,xxx งบประมาณ เงินอุดหนุน xxx,xxx xx,xxx งบประมาณ สปสช xxx,xxx xx,xxx งบประมาณ เงินบำรุง xxx,xxx รวมงบประมาณ xxx,xxx xxx,xxx

7 กิจกรรม แผนงานหลัก ผลผลิตพื้นฐาน งบประมาณจะจัดตามผลผลิตและกิจกรรมตาม
โครงสร้างแผนงาน ด้าน แผนงานหลัก ผลผลิตพื้นฐาน กิจกรรม

8 7 ด้านสาธารณสุข ผลผลิตพื้นฐาน 7.1 ส่งเสริมสุขภาพ
7.1 ส่งเสริมสุขภาพ ผลผลิตพื้นฐาน 7.2 ป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ 7.3 สุขาภิบาลอาหาร อนามัยแม่ เด็ก สตรี และผู้สูงอายุ 7.4 สุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมและอาชีวอนามัย แผนงานหลัก 7.5 ควบคุมสัตว์และโรคในสัตว์ ส่งเสริมสุขภาพเด็กและเยาวชน 7.6 รักษาพยาบาลปฐมภูมิ ส่งเสริมสุขภาพชุมชน 7.8 ยาและสารเสพติด สนับสนุนและพัฒนาระบบการส่งเสริมสุขภาพ 7.9 สนับสนุนระบบบริการสุขภาพ 7.10 บริการโรงพยาบาล

9 7 ด้านสาธารณสุข แผนงานหลัก 7.9 สนับสนุนระบบบริการสุขภาพ
ผลผลิตพื้นฐาน 7.9.1 บริหารศูนย์บริการสาธารณสุข รายจ่ายบุคลากร กิจกรรมรักษาพยาบาลเพิ่มเติม กิจกรรมสนับสนุนกลาง กิจกรรมบริหารงานทั่วไป กิจกรรมนโยบายและประสานงาน บริหารศูนย์ประสานงาน รังสีวินิจฉัย บำรุงรักษาอุปกรณ์ทางการแพทย์ ธุรการ การเงิน พยาธิวิทยา อาคารและสถานที่ บริหารงานกลางศูนย์บริการสาธารณสุข เภสักรรม ผลิตสื่อประชาสัมพันธ์ รายจ่ายที่ต้องบอกปริมาณวัสดุที่ต้องการกับกองอื่น สนับสนุนการเรียนการสอน จัดทำบันทึก แบบฟอร์ม ฯลฯ

10 กิจกรรมใช้เป็นฐานในการคิดงบประมาณ
7 ด้านสาธารณสุข แผนงานหลัก 7.1 ส่งเสริมสุขภาพ ผลผลิตพื้นฐาน 7.1.1 อนามัยแม่ เด็ก สตรี และผู้สูงอายุ กิจกรรม กิจกรรมใช้เป็นฐานในการคิดงบประมาณ รายจ่ายบุคลากร คลินิกเด็กดี (ตรวจพัฒนาการเด็ก ฉีดวัคซีน) คลินิกฝากครรภ์ ตรวจหลังคลอดและวางแผนครอบครัว คลินิกวัยทอง ศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ ปฏิบัติการพยาบาล

11 งบประมาณจะถูกแบ่งเป็น งานประจำ งานยุทธศาสตร์ และงบประมาณลงทุน
งบดำเนินการ ยุทธศาสตร์ ด้าน แผนงานหลัก ประเด็นยุทธศาสตร์ โครงการหลัก โครงการ กิจกรรม

12 งบประมาณจะถูกแบ่งเป็น งานประจำ งานยุทธศาสตร์ และงบประมาณลงทุน
งบลงทุน เพิ่มประสิทธิภาพหน่วยงาน เพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ ยุทธศาสตร์ ด้าน ด้าน ประเด็นยุทธศาสตร์ แผนงานหลัก แผนงานหลัก โครงการ โครงการ โครงการ

13 โครงการยุทธ์ศาสตรที่ปัจจุบันถูกรวมไว้ในงบประมาณงานประจำและไม่สามารถแยกได้ในขณะนี้ เช่น การรักษานอกเวลา ให้เริ่มเก็บข้อมูลการใช้วัสดุ อุปกรณ์ แยกต่างหากจากเวลาปกติ รวมทั้งเวลาเปิด ปิดศูนย์ เพื่อใช้วิเคราะห์ในปีงบประมาณ 2557

14 ข้อมูลที่มีความจำเป็นในการวิเคราะห์ความเหมาะสมของงบประมาณอีกประเภทคือ
ศูนย์ ต้องแสดงปริมาณผลผลิตของงานประจำ ข้อมูลที่มีความจำเป็นในการวิเคราะห์ความเหมาะสมของงบประมาณอีกประเภทคือ ปริมาณงาน

15 ตัวอย่าง การเปรียบเทียบวัสดุสำนักงานและปริมาณงาน
ตัวอย่าง การเปรียบเทียบวัสดุสำนักงานและปริมาณงาน ฝ่านสิ่งแวดล้อม ตลาด กิจการน่ารังเกียจ โฆษณา จำหน่ายอาหาร ออกหนังสือรับรองจำหน่ายอาหาร ขายในที่สาธารณะ เผาศพ รวม วัสดุ เฉลี่ยต่อรายการ ดุสิต 2 433 110 587 37 982 14 2,165 96,660 44.62 มินบุรี 4 822 262 45 1,133 79,600 70.26 บางขุนเทียน 2,142 181 156 2,483 93,700 37.74 บึงกุ่ม 719 274 121 71 128 1,315 89,600 68.14 จอมทอง 17 2,189 76 323 66 40 10 2,721 106,200 39.03 ราชเทวี 931 61 651 2,166 6 3,816 98,100 25.71

16 รายจ่ายใดที่จัดหาโดยหน่วยงานอื่น ศูนย์จะต้องบอกรายการและจำนวนที่ต้องการให้กับหน่วยงานนั้นๆ
ค่ายา ค่าผลิตสื่อ ค่าฟิลม์เอกซเรย์ ค่าวัสดุทางการแพทย์ ค่าตรวจแล็ป

17 วิธีที่ใช้ในการประมาณการ งบประมาณ
Incremental Analytic Approaches Unit Cost Calculations

18 วิธีที่ใช้ในการประมาณการ งบประมาณ
Incremental ดูจากรายจ่ายจริงของปีก่อน เพิ่มตามอัตราเงินเฟ้อ หาแนวโน้มของค่าใช้จ่ายจากปีก่อนๆ แล้วหาแนวโน้ม

19 วิธีที่ใช้ในการประมาณการ งบประมาณ
Analytic Approaches ดูจากรายจ่ายจริงของปีก่อน หาราคาปัจจุบันในท้องตลาด อัตราเงินเฟ้อ ราคาซื้อจำนวนมาก เปรียบเทียบปริมาณงานกับวัสดุ การเปลี่ยนแปลงลักษณะการใช้งาน ลักษณะบริการเปรียบเทียบกับของที่ใช้ หาสมดุลของจำนวนของกับแรงงานที่มี

20 วิธีที่ใช้ในการประมาณการ งบประมาณ
Unit Cost Calculations ใช้สำหรับการเพิ่มคน เพิ่ม วัสดุอุปกรณ์เมื่อปริมาณการผลิต หรือการให้บริการมากขึ้น ส่วนใหญ่จะใช้ในการคำนวนค่าใช้จ่ายในการจัดบริการ ต้องใช้ข้อมูลที่ดีในการหา ใช้เวลามาก แต่มีประโยชน์ในการวิเคราะห์เหตุผลในการอนุมัติงบประมาณ ข้อเสีย คือค่าใช้จ่ายในการหาสูง บางครั้งหน่วยให้บริการกลัวว่าจถูกตัดในสิ่งที่จำเป็น ทำให้คุณภาพการให้บริการลดลง

21 ค่าใช้จ่ายตลอดอายุการใช้งาน
Life Cycle Cost ค่าใช้จ่ายตลอดอายุการใช้งาน ค่าใช้จ่ายตลอดอายุการใช้งาน หมายถึงค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่ใช้ไปในการได้มาซึ่งทรัพย์สินตลอดอายุการใช้งาน ตั้งแต่ซื้อ จนจำหน่ายเป็นซาก ได้แก่ผลรวมของค่าวิจัย พัฒนา ราคาจัดซื้อ จัดจ้าง ติดตั้ง อบรมการใช้ ซ่อมบำรุง วัสดุสิ้นเปลือง ค่าบริหารจัดการ อะไหล่ จนถึงค่ากำจัด

22 Calculating Life Cycle Cost
Life cycle cost = A + O + M + D A = Acquisition cost of a project O = Operating cost M = Maintenance cost D = Disposal costs

23 การจัดทำงบประมาณต้องรวมวัสดุที่จะต้องใช้กับครุภัณฑ์ที่กำลังจะซื้อด้วย
Life Cycle Cost การไม่คำนวณหาต้นทุนตลอดอายุการใช้งานจะส่งผลถึงค่าใช้จ่ายที่ไม่คาดคิดในอนาคต การจัดทำงบประมาณต้องรวมวัสดุที่จะต้องใช้กับครุภัณฑ์ที่กำลังจะซื้อด้วย

24 หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ หมวดครุภัณฑ์ ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง
ปัจจุบัน กทม ใช้ หมวดรายจ่ายแยกเป็น 7 หมวด หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ 01 หมวดค่าจ้างชั่วคราว 02 งบกลาง หมวดรายจ่ายอื่น หมวดค่าตอบแทน ใช้สอย และวัสดุ 03 หมวดค่าสาธารณูปโภค 04 07 หมวดครุภัณฑ์ ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง 05 หมวดเงินอุดหนุน 06

25 งบกลาง หมวดเงินอุดหนุน หมวดรายจ่ายอื่น
รายจ่ายบุคคลากร งบกลาง หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ สวัสดิการ หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดค่าจ้างชั่วคราว ค่าตอบแทนนักการเมือง หมวดค่าตอบแทน ใช้สอย และวัสดุ หมวดเงินอุดหนุน หมวดครุภัณฑ์ ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง หมวดรายจ่ายอื่น

26 รายจ่ายบุคลากร ค่าจ้างชั่วคราว
เงินเดือนข้าราชการ เงินเลื่อนขั้น เงินเพิ่มพิเศษสำหรับการสู้รบ (พ.ส.ร.) เงินเพิ่มค่าวิชา (พ.ค.ว.) เงินเพิ่ม เงินประจำตำแหน่ง เงินค่าตอบแทนรายเดือนสำหรับ ข้าราชการ เงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวสำหรับ เงินรางวัลประจำปี (โบนัส) เงินเดือนฝ่ายการเมือง ค่าจ้างชั่วคราว เงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวสำหรับลูกจ้างชั่วคราว ค่าจ้างรายวัน หมวดรายจ่ายอื่น ค่าจ้างลูกจ้างโครงการ เงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราวสำหรับลูกจ้าง โครงการ หมวดค่าตอบแทน ใช้สอย และวัสดุ ค่าจ้างประจำ เงินเพิ่มค่าจ้างประจำ เงิน พ.ส.ร. เงินค่าตอบแทนรายเดือน สำหรับลูกจ้างประจำ เงินเพิ่มการครองชีพชั่วคราว ค่าตอบแทนอาสาสมัครผู้ดูแลเด็ก ค่าตอบแทนอาสาสมัครลานกีฬา ค่าตอบแทนอาสาสมัครศูนย์เยาวชน หมวดรายจ่ายอื่น

27 สวัสดิการ เงินตอบแทนพิเศษของข้าราชการและลูกจ้างประจำ
งบกลาง เงินช่วยเหลือค่ารักษาพยาบาล เงินสมทบกองทุนประกันสังคม เงินทุนสนับสนุนการศึกษาแก่ บุตรข้าราชการครู กทม บุตรข้าราชการและลูกจ้างประจำ หมวดเงินอุดหนุน สวัสดิการ หมวดค่าตอบแทน ใช้สอย และวัสดุ เงินตอบแทนพิเศษของข้าราชการและลูกจ้างประจำ ค่าตอบแทนเหมาจ่ายการจัดหารถประจำตำแหน่ง

28 ทุนอาหารกลางวันนักเรียน อุดหนุนมหาวิทยาลัยมหิดล ผลิตแพทย์
ค่า ใช้สอย หมวดเงินอุดหนุน ค่าจ้างเหมาจัดทำอาหารกลางวัน ทุนอาหารเสริม (นม) ทุนอาหารกลางวันนักเรียน อุดหนุนมหาวิทยาลัยมหิดล ผลิตแพทย์ ค่าวัสดุ ค่าอาหารเสริม(นม) ค่าอาหารกลางวัน (ร.ร. ซื้อวัสดุมาทำเอง) ค่าผลิตแพทย์ มหาวิทยาลัยมหิดล ค่า ใช้สอย

29 รายได้อื่น ต้องแสดงใน ภงด 40(1) 40(2) ค่าโทรศัพท์เคลื่อนที่
ค่ารางวัลกรรมการสอบ ค่าคุมสอบ ค่าตรวจกระดาษคำตอบ เงินรางวัล จนท ปฏิบัติการในการสอบ ค่าอาหารทำการล่วงเวลา เงินชดเชยค่ารถประจำตำแหน่ง หมวดค่าตอบแทน ใช้สอย และวัสดุ รายได้อื่น ต้องแสดงใน ภงด 40(1) 40(2) หมวดค่าสาธารณูปโภค ค่าโทรศัพท์เคลื่อนที่ ค่าโทรศัพท์บ้านพัก

30 หมวดครุภัณฑ์ ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง
หมวดงบประมาณใหม่ งบกลาง หมวดรายจ่ายบุคลากร หมวดเงินอุดหนุน หมวดค่าสาธารณูปโภค หมวดดำเนินงาน หมวดค่าตอบแทน ใช้สอย และวัสดุ หมวดรายจ่ายอื่น หมวดครุภัณฑ์ ที่ดิน สิ่งก่อสร้าง

31 2. รู้กิจกรรมหน่วยกิจกรรม 3. หาค่าใช้จ่ายทั้งหมดของหน่วยงาน
การประมาณการงบประมาณของผลผลิตโดยใช้ข้อมูลรายจ่ายแบบรายการ 1. หาหน่วยผลผลิต. 2. รู้กิจกรรมหน่วยกิจกรรม 3. หาค่าใช้จ่ายทั้งหมดของหน่วยงาน 4. หาว่าค่าใช้จ่ายไหนเป็นของกิจกรรมใด ผลผลิตใด. 5. จัดทำงบประมาณ/รายงาน.

32 แหล่งข้อมูล ระบบบันทึกการทำงาน
การศึกษารายละเอียดของขั้นตอนการทำงานและเวลาของแต่ละขั้นตอน บันทึกการใช้วัสดุ บันทึกการใช้เครื่องจักร อุปกรณ์ สถานที่ บันทึกการซ่อมบำรุง

33 รายจ่ายที่สามารถประมาณการได้ล่วงหน้า Spending Deliberations
การจัดทำงบประมาณสำหรับรายจ่ายบางประเภทสามารถทำได้ล่วงหน้า ได้แก่ ประมาณการรายจ่ายบุคลากร สวัสดิการ สิทธิประโยชน์ต่างๆที่ประชาชนจะได้รับ เช่น เงินช่วยเหลือผู้พิการ และผู้สูงอายุ สัญญาจ้างเหมาระยะยาว โครงการผูกพัน หนี้ ดอกเบี้ย รายจ่ายอันเกิดจากการลงทุนต่างๆ

34 รายจ่ายบุคคล สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงงบประมาณ เงินเดือนขึ้น
ได้รับความดีความชอบ กฎหมายสวัสดิการเปลี่ยน การย้าย ลาออก รับเพิ่ม (การตั้งงบปประมาณขึ้นอยู่กับนโยบาย ว่าต้องการตั้งเต็มปี หรือกำหนดจำนวนเดือนขอตำแหน่งว่างในกรณีที่ตังไม่มีผู้ที่จะย้ายมาแน่นอน)

35 องค์ประกอบของรายจ่ายบุคลากร
อาจมีได้มากกว่านี้ตามที่กฎหมายกำหนด เงินเดือน (ขรก ลูกจ้าง) สวัสดิการ เงินเดือนฐาน เงินเลื่อนขั้น เงินประกันสังคม ค่าจ้าง ค่ารักษาพยาบาล ค่าเล่าเรียนบุตร เงินประจำตำแหน่ง เงินเพิ่มค่าครองชีพ ตอบแทนอาสาฯ ค่าเช่าบ้าน ค่าโทรศัพท์ ค่าตอบแทนบุคลากรทางการแพทย์ที่ไม่ปฏิบัติเวชปฏิบัติส่วนตัว เงินสมทบกองทุนบำหน็จบำนาญ ค่าตอบแทนเงินเพิ่มพิเศษสำหรับแพทย์สาขาส่งเสริมพิเศษ เงินทุนสนับสนุนการศึกษา ค่าตอบแทนเหมาจ่ายการจัดหารถประจำตำแหน่ง ค่าตอบแทนบุคลากรด้านการแพทย์ และสาธารณสุข ค่าตอบแทนการปฏิบัติงานในคลีนิคเฉพาะโรค ค่าตอบแทนเงินเพิ่มสำหรับตำแหน่งที่มีเหตุพิเศษของผู้ปฏิบัติงานด้านการสาธารณสุข (พ.ต.ส เงินอุดหนุน)

36 รายจ่ายบุคคล รายจ่ายบุคคล ตั้งอยู่ที่ระดับผลผลิต
ในการจัดทำงบประมาณปีแรก ยังไม่มีการทำชั่วโมงการทำงาน ให้นำรายจ่ายบุคคลไว้ที่ผลผลิตที่ผู้นั้นทำงานส่วนใหญ่

37 ข้อมูลประเภทอื่น บันทึกการใช้วัสดุ
บันทึกการใช้เครื่องจักร อุปกรณ์ สถานที่ บันทึกการซ่อมบำรุง

38 บันทึกการเบิกจ่ายวัสดุ
ประเภทวัสดุ ผลผลิต ผลผลิต ๒ รวม จำนวน/ราคา

39 จ่ายจริง 18 เดือน 18 หมวดตอบแทน ใช้สอย และวัสดุ สาธารณูปโภค
หมวดตอบแทน ใช้สอย และวัสดุ สาธารณูปโภค ใช้ข้อมูลตามค่าใช้จ่ายจริง เฉลี่ย 12 เดือนหรือมากกว่า ถ้าเป็นไปได้ให้หา 18 เดือน จ่ายจริง 18 เดือน X 12 18

40 Preventive maintenance
ค่าซ่อม – ยังใช้เกณฑ์ ยกเว้นมีใบประมาณค่าซ่อมประกอบ ค่าบำรุงรักษาเครื่องมือทางการแพทย์ควรทำบันทึกไว้ ถ้ามีส่วนประกอบของเครื่องที่มีอายุการใช้งานแล้วต้องเปลี่ยนให้ทำรายการไว้ พร้อมราคา Preventive maintenance

41 บันทึกสภาพทรัพย์สิน ทรัพย์สิน มูลค่าทดแทน ปีที่ได้มา สภาพ
ลักษณะการใช้งาน ดี ปานกลาง พอใช้ โทรม ตามฤดูกาล ยอดเยี่ยม น้อย หนัก

42 บันทึกการใช้รถ รถ-ทะเบียน แผนงาน ๑ แผนงาน ๒ แผนงาน ๓ รวม กิโลเมตร ข้อมูลการใช้รถ ถ้ายังหาเป็นรายแผนไม่ได้ ให้หาเป็นรายหน่วยงานไว้ก่อน แล้วเริ่มจดข้อมูลตั้งแต่ตอนนี้

43 ตารางเวลาการทำงาน และงบประมาณอื่นๆ โครงการ ผลผลิต รวม บริหารศูนย์
ชื่อข้าราชการ/ รายจ่าย กิจกรรม


ดาวน์โหลด ppt การจัดทำงบประมาณ 2556 ศูนย์บริการสาธารณสุข สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google