งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ระบบบริหารงบประมาณ (Estimates) มีความสำคัญและเป็นประโยชน์ ต่อองค์กร หน่วยงาน และบุคคลอย่างไร แนวทางการพัฒนาในอนาคต นายแพทย์สราวุธ สุวัณณทัพพะ ผู้ทรงคุณวุฒิฯ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ระบบบริหารงบประมาณ (Estimates) มีความสำคัญและเป็นประโยชน์ ต่อองค์กร หน่วยงาน และบุคคลอย่างไร แนวทางการพัฒนาในอนาคต นายแพทย์สราวุธ สุวัณณทัพพะ ผู้ทรงคุณวุฒิฯ."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ระบบบริหารงบประมาณ (Estimates) มีความสำคัญและเป็นประโยชน์ ต่อองค์กร หน่วยงาน และบุคคลอย่างไร แนวทางการพัฒนาในอนาคต นายแพทย์สราวุธ สุวัณณทัพพะ ผู้ทรงคุณวุฒิฯ 6 พฤษภาคม 2552 เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการในการใช้งานระบบบริหารจัดการงบประมาณ กรมควบคุมโรค วันที่ พฤษภาคม 2552 ณ ห้อง Rome โรงแรมลักซอร์ จังหวัดนนทบุรี

2 พ. ร. บ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ. ศ
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ ๕) พ.ศ.๒๕๔๕ มาตรา ๓/๑ วรรคสาม “ ในการปฏิบัติหน้าที่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้คำนึงถึงความรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การเปิดเผยข้อมูล การติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี้ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ ”

3 สารสนเทศกับการบริหารจัดการ
ระบบสารสนเทศ ข่าวสารข้อมูลที่ได้ ถูกต้อง รวดเร็วและทันต่อเหตุการณ์ ทำให้ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด และสามารถ ติดตามผลการดำเนินการอย่างมีประสิทธิภาพ ระบบสารสนเทศดังกล่าวจะเป็น รากฐานสำคัญ ที่จะเพิ่มขีดความสามารถในการปรับปรุงและพัฒนาระบบข่าวกรองในงานป้องกันและควบคุมโรค ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น

4 ผลผลิต (รายงานข่าวกรอง)
กระบวนการข่าวกรอง เอกสารรายการ ข้อมูล/ข่าวสาร รายงานผลการ เฝ้าระวังฯ รายงาน เฝ้าระวังโรคทางระบาดวิทยา รายงาน สอบสวนโรค รายงานการศึกษา การศึกษาวิจัย, การจัดหา องค์ความรู้สนับสนุนงานข่าวกรอง การจัดหาข้อมูลข่าวสารอื่นที่เกี่ยวข้อง กระบวนการ เฝ้าระวังพฤติกรรมเสี่ยง/ปัจจัยเสี่ยง กระบวนการ เฝ้าระวังโรค การสอบสวนโรค พัฒนาระบบ (ใหม่/ปรับปรุง) พัฒนา บุคลากร พัฒนา เครือข่าย พัฒนาเครื่องมือและเทคโนโลยี

5 การพัฒนาระบบสารสนเทศการบริหารจัดการ
(Management Information System : MIS) การบริหารจัดการ เพื่อให้เกิดความรวดเร็วและถูกต้องแม่นยำในการตัดสินใจ โดยมีฐานข้อมูล ที่ได้รับการวิเคราะห์และสังเคราะห์ อย่างถูกต้องมาใช้ประกอบการตัดสินใจบริหารจัดการเชิงยุทธศาสตร์ จำเป็นต้องมีระบบสารสนเทศการบริหารจัดการ (MIS ) เป็นเครื่องมือที่ถูกนำมาประยุกต์ใช้กับการทำงาน

6 การออกแบบสถาปัตยกรรม ระบบสารสนเทศของกรมควบคุมโรค
EPIDEM AIDS วัณโรค การประกอบอาชีพ มาลาเรีย โรคเรื้อน ปัจจัยเสี่ยง GFMIS upload DPIS GSMS Services ข้อมูล เพื่อการตัดสินใจ E1 คลังข้อมูล ตามพันธกิจ Standard Datasets Operational Information System Management Executive E2 M1 ข้อมูลสรุป เพื่อการบริหาร คลังข้อมูล การบริหาร M2 ข้อมูลโรค ตามพันธกิจ ข้อมูลพื้นฐาน เพื่อการบริหาร O1

7 ฐานข้อมูลกลางของกรมฯ Data Warehouse
ภาพรวมของระบบสารสนเทศ (MIS) ของกรมควบคุมโรค การพัฒนาระบบ บัญชีฐานข้อมูล ปี E-Library Call Center ระบบรายงานโรค ฐานข้อมูลโรคต่างๆ สารบรรณ KM งานตามพันธกิจ Strategic /Output / KPI Project Planning ฐานข้อมูลกลางของกรมฯ Data Warehouse Project Monitoring / Evaluating Estimates ปี Strategic KPI Business Intelligent Tool Export Excel โหลดเข้าระบบ GFMIS Financial Report (ปี 51 Excel Loader) Progress Report โปรแกรม Cognos Presentation ทะเบียน สินทรัพย์ EV MIS E-Budgeting แผน/ผล งาน เงิน DPIS Competency งานบุคลากร

8 แนวทางการพัฒนาระบบสารสนเทศตามแผนที่กลยุทธ์และแผนแม่บท IT ของกรมควบคุมโรค (พ.ศ. 2550 – 2554)

9 แผนที่ยุทธศาสตร์ระบบสารสนเทศการบริหารจัดการของกรมควบคุมโรค
Goal เป้าหมายระยะ 4 ปี พ.ศ Customer ผู้บริหารหน่วยงานของกรมควบคุมโรค หน่วยงานภายนอก Effectiveness ด้านประสิทธิผล G1 มีบุคลากรที่มีสมรรถนะในการพัฒนาระบบ MIS G2 มีระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ Quality ด้านคุณภาพ Q1 ระบบเตือนภัยด้านบริหารจัดการที่รวดเร็ว ถูกต้อง ทันเวลา และครอบคลุม การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารสำหรับประชาชน P1 จัดทำกรอบการพัฒนาบุคคลากรเพื่อพัฒนาสมรรถนะ เพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบ MIS เพื่อการบริหารจัดการ P2 จัดทำกรอบการพัฒนาและรวบรวมข้อมูลด้าน MIS รวมทั้งเชื่อมประสานฐานรวมทั้ง 3 ด้าน คน เงิน และการประเมินผลรวมทั้ง การประสานกับหน่วยงานทั้งภายใน ภายนอก Efficiency ด้านประสิทธิผล P3 จัดทำกรอบและรูปแบบการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจและนำเสนอ L1 ความรู้เกี่ยวกับองค์ประกอบ 4 ด้าน People ware/Computer hardware/Operation software & Thinking software / Data base or data ware house Learning/Growth ด้านการพัฒนา องค์การ L2 การเก็บรวบรวมข้อมูล L3 บุคคลากรที่เกี่ยวข้องทุกส่วนที่เกี่ยวข้องกับระบบ MIS มีความรู้เกี่ยวกับระบบ MIS

10 กรอบและระยะเวลาการพัฒนาระบบสารสนเทศ การบริหารจัดการ
PA ระบบข่าวสารเพื่อการติดตามและการตัดสินใจด้านการบริหารจัดการ Main Product PA 0 การปรับแผนการพัฒนา MIS (ปี 50) PA 1 การพัฒนาบุคลากรเพื่อการพัฒนา MIS (ปี 51) PA 2 ระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ (ปี 51) PA 3 รายงานวิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานตามยุทธศาสตร์ (ปี 53) PA 4 การพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อการติดตามและประเมินผลการทำงานตามยุทธศาสตร์ (ปี 54) Sub Product TA 01 การทบทวนกรอบการพัฒนา MIS (ปี 50) TA 11 การจัดทำกรอบการพัฒนาบุคลากรด้าน MIS (ปี 51) TA 21 การจัดทำกรอบการพัฒนาระบบฐานข้อมูลด้าน MIS (ปี 51) TA 31 การสร้างกรอบและรูปแบบการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อตอบสนองการตัดสินใจ (ปี 52) TA 41 การจัดทำกรอบตัวชี้วัดเพื่อการติดตามและประเมินผลตามยุทธศาสตร์ (ปี 52) Technology Internal Process TA 42 การพัฒนาตัวชี้วัดที่สะท้อนการทำงานจากภายนอกต่อการดำเนินงานตามยุทธศาสตร์ (ปี 53) TA 22 การจัดทำการเชื่อมประสานข้อมูลแต่ละส่วนงาน (ปี 51) TA 32 การนำเสนอเผยแพร่สู่สาธารณะ (ปี 53) L1 การจัดอบรมความรู้องค์ประกอบ 4 ส่วนของระบบ MIS (ปี 50) Learning Process L2 การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการให้ทุกส่วนงานจัดทำการเก็บรวบรวมข้อมูล (ปี 50) L3 การจัดอบรมให้ความรู้แก่บุคลากรที่เกี่ยวข้องของทุกส่วนงานกับการดำเนินการระบบ MIS (ปี 50 – 52)

11 การพัฒนาระบบ MIS การพัฒนาระบบ MIS ได้วางกรอบการดำเนินงานไว้ในแผนที่กลยุทธ์ของกรมฯ 5 ปี พ.ศ โดยปีที่ 1 และ 2 เป็นการวางฐานการพัฒนาบุคลากรและฐานข้อมูลเพื่อให้ได้ปัจจัยนำเข้าสู่การจัดทำรายงานวิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานตามยุทธศาสตร์ และพัฒนาตัวชี้วัดเพื่อการติดตามและประเมินผลการทำงานตามยุทธศาสตร์

12  ศึกษา สำรวจ และวิเคราะห์ข้อมูลตามภารกิจของกรมควบคุมโรค
TA21 การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ (MIS Phase I) : (ปี 2550 – 2551)  ศึกษา สำรวจ และวิเคราะห์ข้อมูลตามภารกิจของกรมควบคุมโรค 1. การบริหาร (แผน / การบริหารการเงิน การคลัง / บุคลากร) 2. การบริการ 3. การแลกเปลี่ยนและการเฝ้าระวังโรค ข้อมูลรายงาน EPIDEM ข้อมูลโรคเอดส์ /วัณโรค / มาลาเรีย /โรคเรื้อน / โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม ข้อมูลการบาดเจ็บและการตายจากอุบัติเหตุ สงคราม และ ภัยธรรมชาติ ข้อมูลการปฏิบัติงานและควบคุมแมลงนำโรค / ลูกน้ำยุงลาย ข้อมูลพฤติกรรมที่เป็นปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค 4. จัดทำโครงสร้างบัญชีข้อมูลเพื่อการปฏิบัติงานตามภารกิจของ กรมควบคุมโรคข้างต้น เชิงรวมศูนย์เชิงบูรณาการ

13 TA21 การพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ (MIS Phase I) : (ปี 2550 – 2551) (ต่อ)
กำหนดมาตรฐานกลางของรหัสข้อมูลอ้างอิงเพื่อ การปฏิบัติงานตามภารกิจที่สามารถใช้ร่วมกันใน กรมควบคุมโรค กำหนดแนวทางในการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารของกรมควบคุมโรค จากโครงสร้างบัญชีข้อมูลที่กำหนดขึ้น (ขั้นตอนและกิจกรรม / บทบาท /แผนและ ผลที่จะได้รับ)

14 TA22 การเชื่อมประสานข้อมูลแต่ละส่วนงาน (MIS Phase II) : พัฒนาระบบคลังข้อมูลการบริหารราชการแผ่นดินเชิงบูรณาการ (ปี 2552) หลักการและเหตุผล ตามแผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศของกรมควบคุมโรค ปี พ.ศ ข้อเสนอการพัฒนา MIS ระยะที่ ปี พ.ศ ให้มีการพัฒนาระบบสารสนเทศการบริหารอย่างเต็มรูปแบบด้วยข้อมูลข่าวสารที่ทรงประสิทธิภาพในการบริหารองค์กรแบบหลายมิติ และอยู่ในรูปแบบเชิงบูรณาการ โดยอันดับแรกให้มีระบบคลังข้อมูลการบริหารราชการแผ่นดินเชิงบูรณาการขึ้นเพื่อเป็นศูนย์รวมของโครงสร้างบัญชีข้อมูลหลักที่จำเป็น จากนั้นมีโครงการต่อเนื่องตามขั้นตอนให้แล้วเสร็จสมบูรณ์ภายในระยะเวลา 2 ปี

15 TA22 การเชื่อมประสานข้อมูลแต่ละส่วนงาน (MIS Phase II) : พัฒนาระบบคลังข้อมูลการบริหารราชการแผ่นดินเชิงบูรณาการ (ปี 2552) ผลผลิต ระบบคลังข้อมูล (Data Center) ที่เป็นศูนย์กลางในการรวบรวมข้อมูลด้านบริหารราชการแผ่นดินในเชิงบูรณาการ(งาน เงิน คน) พัฒนาเครื่องมือซอฟต์แวร์ที่มีขีดความสามารถในการนำข้อมูลเข้าและออกจากคลังข้อมูลฯ เพื่อเตรียมพร้อมในการพัฒนาส่วนจัดการคลังข้อมูลฯ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

16 การวิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนา
TA22 การเชื่อมประสานข้อมูลแต่ละส่วนงาน (MIS Phase II) : พัฒนาระบบคลังข้อมูลการบริหารราชการแผ่นดินเชิงบูรณาการ (ปี 2552) กิจกรรมหลัก การวิเคราะห์ ออกแบบ พัฒนา จัดตั้งระบบคลังข้อมูลเชิงบูรณาการที่สามารถรวบรวมข้อมูลอ้างอิงจาก - ข้อมูลบุคลากรจากระบบ DPIS - ข้อมูลโครงการและการเบิกจ่ายงบประมาณจากระบบ Estimates - ข้อมูลหลักจากแฟ้ม GFMIS Excel Loader ในเบื้องต้น

17 ระบบบริหารจัดการงบประมาณของกรมควบคุมโรค (Estimates)
ความเป็นมา เป็นระบบสารสนเทศด้านการบริหารโครงการและงบประมาณ ซึ่งพัฒนาขึ้นเมื่อปี 2546 และมีการปรับปรุง อย่างต่อเนื่องจนถึงปัจจุบัน เพื่อให้หน่วยงานในสังกัดกรมฯ ใช้ในการจัดทำรายงานแผน / ผลการปฏิบัติราชการและ การใช้จ่ายงบประมาณให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์และ ตัวชี้วัดขององค์กรที่กำหนดขึ้นในแต่ละปี

18 การพัฒนาระบบบริหารจัดการงบประมาณ กรมควบคุมโรค ปี 2546 - 2551
การพัฒนาระบบบริหารจัดการงบประมาณ กรมควบคุมโรค ปี 2551 Estimates Report Link to Excel Loader KPI Strategy 2550 Capacity Building 2549 Integrate Planning Financial & Progress Report 2548 Financial Report Link to Progress Progress Report

19 ประโยชน์ของระบบบริหารจัดการงบประมาณ
เป็นระบบสารสนเทศด้านการบริหารจัดการที่ออกแบบให้เชื่อมโยง ยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัด แผนงาน แผนงบประมาณ การรายงานผลงานและค่าใช้จ่าย ทุกแหล่งเงิน เพื่อให้ผู้รับผิดชอบโครงการ ผู้บริหารสามารถติดตามความก้าวหน้าของแผนงาน โครงการ เป้าหมาย ตัวชี้วัดที่กำหนด เป็นระบบการทำงานบน Internet บุคลากรที่เกี่ยวข้องสามารถ update ข้อมูลได้ตลอดเวลา (Real time)

20 ประโยชน์ของระบบบริหารจัดการงบประมาณ
ช่วยลดขั้นตอนการทำและส่งรายงานเป็นกระดาษ (Paperless) (รายงานสงป. / รายงานการประเมินตนเอง SAR / รายงานการประเมินผลงานและการใช้จ่ายงบประมาณ PART / รายงานคณะกรรมาธิการฯ / รายงานคณะตรวจประเมินของกระทรวงสาธารณสุข ฯลฯ) เป็นฐานข้อมูลด้านผลงานและการใช้จ่ายที่สามารถนำไปใช้ในการ 1. รายงานผลการปฏิบัติงานของหน่วยงาน / กลุ่มงาน / บุคคล (เจ้าของโครงการและทีมงาน) 2. การคำนวณต้นทุน เพื่อการวางแผนการของบประมาณในอนาคต ตลอดจนกำหนดแผนการเพิ่มประสิทธิภาพหรือลดต้นทุน 3. การประเมินความคุ้มค่าของภารกิจในการนำส่งผลผลิตภาครัฐ สำหรับใช้ในการปรับบทบาทของกรมฯ ในอนาคต

21 โครงการพัฒนาระบบ Estimates ใน ปี 2552
เพื่อพัฒนาและปรับปรุงฐานข้อมูลการบริหารจัดการงบประมาณ กรมควบคุมโรค ให้สามารถดำเนินการในองค์ประกอบ - การระบุตัวตนและกิจกรรมของผู้เข้ามาใช้งาน - การคำนวณต้นทุนผลผลิต - การติดตามความก้าวหน้าของการจัดซื้อจัดจ้าง - ปรับปรุงระบบบันทึกข้อมูลและรูปแบบการรายงานทาง อิเล็กทรอนิกส์

22 โครงการพัฒนาระบบ Estimates ปี 2552 (ต่อ)
ประเด็นสำคัญที่จะปรับปรุง พัฒนา การระบุตัวตนและกิจกรรมของผู้เข้ามาใช้งาน - เพิ่มเติมจำนวนกลุ่มผู้ใช้งานและกำหนดสิทธิ์การใช้งาน ได้ครอบคลุมทุกสิทธิ์ ทุกเมนู - ระบบความปลอดภัยในการเข้าใช้ระบบ เพื่อให้สามารถ ระบุตัวตน วันที่ เวลา และการกระทำการใดๆกับระบบได้

23 โครงการพัฒนาระบบ Estimates ปี 2552 (ต่อ)
ประเด็นสำคัญที่จะปรับปรุง พัฒนา การคำนวณต้นทุนผลผลิต - การเพิ่มผลผลิตย่อย และกิจกรรมย่อยเพื่อรองรับการวิเคราะห์ผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด การคำนวณต้นทุนผลผลิต และการลงน้ำหนักงานของบุคลากร - ได้รายงานต้นทุน 4 ระดับ คือ ผลผลิต ผลผลิตย่อย กิจกรรมหลักและกิจกรรมย่อย ตามแนวทางกรมบัญชีกลางและรองรับการเชื่อมต่อกับระบบ GFMIS / MIS ของกรมฯ การติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง - การบันทึกรายการซื้อจ้างในโครงการงบลงทุน การจัดซื้อยาและเวชภัณฑ์ที่ไม่ใช่ยา และหรืออื่นๆ

24 โครงการพัฒนาระบบ Estimates ปี 2552 (ต่อ)
ประเด็นสำคัญที่จะปรับปรุง พัฒนา ปรับปรุงระบบบันทึกข้อมูลและรูปแบบการรายงาน - ระบบแจ้งเตือน กรณีไม่รายงานความก้าวหน้าของงานและการใช้เงินในระบบ โดยแจ้งเตือนผ่านระบบเครือข่ายของกรมฯ ได้แก่ ระบบ SMS การเตือนทางหน้าจอคอมพิวเตอร์ (Pop up Window) เมื่อผู้เกี่ยวข้อง Log in เข้าใช้งานระบบ / ผ่านทาง - ระบบรายงานสรุปสถานะของการดำเนินงานโดยแสดงเป็นจำนวนและร้อยละของโครงการทั้งหมด แยกประเภทเป็นโครงการที่ดำเนินการเสร็จก่อนแผน เสร็จตามแผน ล่าช้ากว่าแผน และยังไม่ได้ดำเนินการ (ยังไม่มีรายงาน)

25 โครงการพัฒนาระบบ Estimates ปี 2552 (ต่อ)
ปรับปรุงระบบบันทึกข้อมูลและรูปแบบการรายงาน (ต่อ) - ปรับปรุงระบบการนำเข้าข้อมูลอิเล็กทรอนิคส์ เช่น การบันทึกข้อมูลในใบสั่งซื้อสั่งจ้าง (บส.) และใบขอเบิกเงิน (ขบ) การเบิกจ่ายเงินนอกงบประมาณที่นำฝากธนาคารพาณิชย์โดยไม่ผ่านบัญชีของกองคลัง และการรายงานตัวชี้วัด - ปรับระบบการบันทึกข้อมูลและการเลือกเงื่อนไขให้เชื่อมโยงระหว่างเมนู เพื่อให้สะดวกและการใช้งานระบบที่ง่ายขึ้น


ดาวน์โหลด ppt ระบบบริหารงบประมาณ (Estimates) มีความสำคัญและเป็นประโยชน์ ต่อองค์กร หน่วยงาน และบุคคลอย่างไร แนวทางการพัฒนาในอนาคต นายแพทย์สราวุธ สุวัณณทัพพะ ผู้ทรงคุณวุฒิฯ.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google