งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การดำเนินงาน การผ่าตัดตาต้อกระจก.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การดำเนินงาน การผ่าตัดตาต้อกระจก."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การดำเนินงาน การผ่าตัดตาต้อกระจก

2 cataract วัตถุประสงค์ เพิ่มการเข้าถึงบริการผ่าตัดตาต้อกระจก
ได้รับบริการที่มีคุณภาพ/มาตรฐาน ลดระยะเวลารอคอย บริการสะดวก รวดเร็ว หน่วยบริการ ได้รับชดเชยรวดเร็ว เป็นธรรม และเกิดการพัฒนาเครือข่ายระบบบริการในพื้นที่

3 จำนวนผ่าตัดcataract 55 จำแนกตามทะเบียนสิทธิผู้รับบริการในเขต/นอกเขต
ร้อยละนอกเขต 6.1 71.03 62.77 3.89 1.55 19.61 13.21 4.38 4.16 6.51 4.11 23.24 29.15

4 สรุปภาพรวมการผ่าตัดต้อกระจก2555
เขต จำนวนผ่าตัด(ครั้ง) อัตราการเข้าถึงเฉลี่ย/แสนประชากร ค่าเฉลี่ยวันรอ(วัน) ร้อยละ 0-<90 วัน จำนวนผ่าตัด/ จักษุแพทย์/เดือน เชียงใหม่ 8,444 1,172 62 77.03 20 พิษณุโลก 4,656 1,640 60 72.73 16 นครสวรรค์ 5,157 2,721 40 90.60 17 สระบุรี 13,896 2,828 24 92.98 13 ราชบุรี 27,581 1,988 97.63 ระยอง 4,540 1,301 54 85.64 15 ขอนแก่น 3,316 778 75 67.89 10 อุดรธานี 6,306 1,093 91.08 37 นครราชสีมา 11,036 997 28 91.43 25 อุบลราชธานี 3,616 811 65.00 23 สุราษฎร์ธานี 4,219 806 44 82.41 สงขลา 3,304 701 69 75.47 กรุงเทพฯ 8,252 1,178 73 73.24 7 ผลรวมทั้งหมด 104,323 1,347 87.03

5 การบริหารเป้าหมายร่วม เขต/หน่วยเชิงรุก
เป้าหมาย จากส่วนกลาง เป้าหมาย จากพื้นที่ ผลต่างการตั้งเป้าหมาย ประสงค์ หน่วยบริการนอกเขตพื้นที่ เชิงรุก บ้านแพ้ว พอ.สว. ศุภมิตรเสนา ศุภมิตร สุพรรณ โคราชเมโมเรียล รวม 1 เชียงใหม่ 9,781 500 390 890 2 พิษณุโลก 5,913 15,539 9,626 3,000 4,400 4,900 3 นครสวรรค์ 5,666 9,984 4,318 4,518 1,000 2,000 6,750 9,750 4 สระบุรี 7,174 11,808 4,634 4,640 400 5,300 5,700 5 ราชบุรี 8,213 6 ระยอง 7,945 7 ขอนแก่น 7,973 600 2,100 8 อุดรธานี 7,965 420 820 9 นครราชสีมา 11,109 5,100 150 7,000 7,750 10อุบลราชธานี 7,059 8,820 1,761 11สุราษฎร์ฯ 6,171 7,029 858 200 12 สงขลา 6,650 2,530 1,700 13 กทม. 8,381 4,000 100,000 121,197 21,197 19,988 12,000 1,760 7,300 13,150 9,000 43,210 ผลต่างความต้องการเขต/เชิงรุก - 23,222 หมายเหตุ ข้อมูลจาก สปสช.เขต และจากการประชุมความร่วมมือกับหน่วยเชิงรุก 17 ตุลาคม 2555

6 ปัญหาอุปสรรคที่ผ่านมา
1. ความครอบคลุมในการเข้าถึงบริการ 2. หน่วยร่วมให้บริการและการขึ้นทะเบียน 3. การส่งต่อ(refer) 4. คุณภาพบริการ 5. ระยะเวลารอคอยผ่าตัด

7 ประเด็นการดำเนินงาน ปี 2556
เพิ่มการเข้าถึงบริการโดยให้พื้นที่มีส่วนร่วม 2. ลดระยะเวลารอคอยผ่าตัด 3. การกำกับติดตามคุณภาพบริการ 4. การบริหารจัดการงบประมาณและเป้าหมายบริการ

8 การบริหารงบและหลักเกณฑ์การจ่ายเงิน 56
เป้าหมาย Senile Cataract 100,000 ราย งปม ลบ. เบิกจ่าย จากกองทุน Central Reimbursement หลักเกณฑ์จ่าย Fixed rate แบ่งจ่ายเป็น 2 ส่วนคือ ค่าผ่าตัด (รวมค่าภาระงาน 1,200 บาท) Non-complication (รหัส 2060,2070) ชดเชยข้างละ 7,000 บาท Complication (รหัส , ) ชดเชยข้างละ 9,000 บาท ค่าเลนส์ Foldable Lens ชดเชยข้างละ 2,800 บาท Non- Foldable Lens ชดเชย ข้างละ 700 บาท เฉพาะเลนส์ที่ สปสช.ประกาศ

9 *** อนุกรรมการหลักประกันสุขภาพระดับเขต 7 ขอนแก่น
มติประชุม *** อนุกรรมการหลักประกันสุขภาพระดับเขต 7 ขอนแก่น วันที่ 23/4/56 การผ่าตัดต้อกระจก ได้รับเงินเพิ่ม 1,000 บ./Adj rw. สำหรับโรงพยาบาลภาครัฐ

10 แนวทางเงื่อนไขการให้บริการ
การตรวจคัดกรอง pt ต้องได้รับการตรวจคัดกรองเบื้องต้น การตรวจวินิจฉัย pt ต้องได้รับการตรวจสายตา V/A วิธี pin hole V/A น้อยกว่าหรือเท่ากับ 6/36 หรือ 20/100 ได้รับการยืนยันผลจาก จักษุแพทย์ ก่อนได้รับการผ่าตัด การติดตามหลังผ่าตัด F/U จากแพทย์ 3 ครั้ง ในวันที่ 1 ,7,30 หลังผ่าตัดตามลำดับ การบริการผ่าตัดรพ.เอกชนต้องยื่นความจำนงกับสปสช .เขต 7 ขอนแก่น การบันทึกข้อมูลในเวชระเบียน ผลการคัดกรองต้อกระจก,ยืนยันผลจากแพทย์ ข้อมูลการผ่าตัดต้อกระจก ข้อมูลเลนส์แก้วตาเทียม รหัส serial NO. ติดไว้ที่เวชระเบียนทุกราย ลการติดตาม F/U บันทึกข้อมูลใน Program e – cliam

11 โครงการค้นหา คัดกรองและผ่าตัดต้อกระจกจังหวัดร้อยเอ็ด
ปี 2556

12 งบประมาณ จากงบ PP area base ระดับเขต จำนวน 856,000 บาท
1.1 รพ.ร้อยเอ็ด รพ.สุวรรณภูมิ ,รพ.เสลภูมิ ,รพ.โพนทอง รพ.เกษตรวิสัย รพ.ละ 50,000 บาท 1.2 รพ.ชุมชนขนาดเล็ก 15 แห่งๆละ 40,000 บาท = 600, บาท จังหวัดจะโอนเงิน 2 งวดคือ งวดแรก 50 % หลังได้รับโครงการพร้อมแจ้งทีมผ่าตัด งวดที่ 2 จะโอนให้เมื่อได้รับผลงาน ทะเบียนผู้ป่วย,รายชื่อผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัด

13 การดำเนินงาน เขียนโครงการ ค้นหาคัดกรองผู้ป่วย ขึ้นทะเบียนต้อกระจก ส่งรายชื่อผู้ป่วยให้จังหวัด เลือกทีมผ่าตัดกรณีเป็นจุดผ่าตัดเอง ดำเนินการผ่าตัด การดูแลหลังผ่าตัด สำรวจข้อมูลผู้ป่วยต้อกระจก

14 ทะเบียนรายชื่อผู้ป่วยต้อกระจก

15 ทะเบียนรายชื่อผู้ป่วยต้อกระจก
ที่ได้รับการผ่าตัด

16 การให้รหัสโรค รหัสหัตถการ
ผ่าตัดต้อกระจก

17 การให้รหัสโรคต้อกระจก
สามารถให้รหัสได้ 2 กลุ่ม คือ 1.  ถ้าแพทย์ระบุสาเหตุของต้อกระจก ให้ใช้รหัสของต้อกระจกตามสาเหตุ โดยไม่คำนึงถึงอายุของผู้ป่วย หรือตำแหน่งลักษณะความขุ่นของเลนส์ เช่น Traumatic cataract              ให้รหัส           H261 Drug-induce cataract           ให้รหัส           H263 Congenital cataract              ให้รหัส           Q120

18 2. ถ้าแพทย์ไม่บอกสาเหตุ ให้ใช้อายุของผู้ป่วยเป็นเกณฑ์ ในการให้รหัส
2.  ถ้าแพทย์ไม่บอกสาเหตุ ให้ใช้อายุของผู้ป่วยเป็นเกณฑ์ ในการให้รหัส ·      อายุไม่เกิน 40 ปี = H260 Infantile juvenile and presenile cataract ·      อายุมากกว่าหรือเท่ากับ 40 ปี = กลุ่ม H25.- senile cataract เป็นรหัส 4 หลัก ตามตำแหน่งและความขุ่นของเลนส์ ที่แพทย์ระบุ ดังนี้ -        ถ้าขุ่นเฉพาะชั้น nucleus ของเลนส์อย่างเดียว = H251 Senile nuclear cataract  (SNC) -        ถ้าขุ่นในชั้นอื่น ๆ ของเลนส์ (ยกเว้นชั้น nuclear ) = H250 Senile incipient cataract  (SIC) -        ถ้าเป็น combined opacity เช่น มี nuclear sclerosis (NS) ร่วมกับความขุ่นที่ตำแหน่งอื่น ๆ (posterior subcapsular opacity (PSC)/ cortical opacity) =H258 Combined from of senile cataract ( SCC ) -        ถ้าต้อกระจกเป็นชนิดขาวทั้งหมด จนไม่สามารถแยกชั้นของความขุ่นได้ (mature cataract ชนิดที่เป็น  milky cataract หรือ hypermature cataract ) = H252 senile cataract,morgagnian type (SMC) -        ถ้าไม่มีข้อมูลเรื่องตำแหน่งและลักษณะความขุ่นของเลนส์ = H259 senile cataract unspecified (SC)

19 รหัสหัตถการผ่าตัดต้อกระจก ICD-9 CM
With insertion of intraocular lens 13.71 (ให้ร่วมกับรหัสการลอกต้อกระจกเสมอ) Secondary insertion of intraocular lens 13.72 (ใช้ในรายที่เคยทำหัตถการเอาแก้วตาออกแล้ว)

20

21 การลอกต้อเนื้อ (pterygium excision)

22 การบันทึกข้อมูลขอรับค่าบริการการผ่าตัด/ค่าเลนส์

23

24

25

26 รหัสเลนส์แก้วตาเทียม

27

28

29

30 ตรวจสอบ Serial number Log in หน้าเว๊ป e – claim เลือกเมนู รายงานแบบสรุป instrument ,รายงานการตรวจสอบ S/N ของอุปกรณ์และอวัยวะเทียม ผลการตรจวสอบ serial number T = serial number ถูกต้อง F = serial number ไม่ถูกต้อง B = ไม่ได้บันทึก serial number N = ไม่ตรวจสอบ serial number


ดาวน์โหลด ppt การดำเนินงาน การผ่าตัดตาต้อกระจก.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google