งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

เวทีแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อ การปรับตัวต่อการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศใน ประเทศไทย ดร. หลุยส์ เลอเบล ผู้อำนวยการ หน่วยวิจัยสังคมและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "เวทีแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อ การปรับตัวต่อการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศใน ประเทศไทย ดร. หลุยส์ เลอเบล ผู้อำนวยการ หน่วยวิจัยสังคมและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 เวทีแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อ การปรับตัวต่อการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศใน ประเทศไทย ดร. หลุยส์ เลอเบล ผู้อำนวยการ หน่วยวิจัยสังคมและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ llebel@loxinfo.co.thllebel@loxinfo.co.th, louis@sea-user.orglouis@sea-user.org

2 2 ประเด็น  นโยบายและ โครงการ  ความรู้เกี่ยวกับการ ปรับตัว  องค์ความรู้กับการ ปฏิบัติ  สู่ยุทธศาสตร์ ขออภัยในบางส่วนของเอกสารและคำพูดที่แปลผิดพลาดครับ

3 3 นโยบายและโครงการ  ยุทธศาสตร์ แบบแผน และโครงการ ระดับชาติ แผนยุทธศาสตร์ 5 ปี ในด้านการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ (2551-2555) ได้มีการร่างแผนยุทธศาสตร์ 10 ปี ในด้านการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (2553-2562) รวมทั้งแผนปฏิบัติการ 3 ปี (2553-2555)  ภาครัฐ อื่นๆ กทม. ได้จัดทำรายงาน การประเมินผล การ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในปี 2552 กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจัดตั้งศูนย์ จัดการความรู้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ (CCKM)

4 4 นโยบายและโครงการ 2  มีส่วนร่วมในความตกลงระหว่างประเทศ อนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง สภาพอากาศ (UNFCCC) ในปฏิญญาสิงคโปร์ว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ พลังงาน และ สิ่งแวดล้อม กับผู้นำ อาเซียน (ASEAN)  ผู้ดำเนินการที่ไม่ได้มาจากภาครัฐ มูลนิธิรักษ์ไทย (RaksThai) ได้เริ่มนำการปรับตัว มาเป็นส่วนหนึ่งของแผนงานการเตรียมความพร้อม ของชุมชนเพื่อรับมือภัยพิบัติ องค์การอ็อกแฟม (Oxfam) ได้ดำเนินงานในการ ปรับตัวในจังหวัดยโสธร

5 5 เสนอแนะ 1  ทางลือกที่ดีที่สุดสำหรับ เวที คือ ความ ร่วมมือและการสนับสนุนการจัดตั้ง CCKM การทำงานกับศูนย์จัดการความรู้ด้านการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศและเครือช่ายของ ศูนย์ ซึ่งเชื่อมโยงกับหน่วยงานราชการต่างๆ ในประเทศไทยจะเหมาะกับการปรับตัวซึ่งมี ลักษณะที่เกี่ยวข้องกับหลายฝ่าย

6 6 ความรู้เกี่ยวกับการปรับตัว การวิจัย ส่วนใหญ่...  ทำความเข้าใจ ใน การเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ  ผลกระทบ ที่ อาจจะเกิดขึ้น  ความเปราะบาง และ ความ อ่อนไหว

7 7 ความรู้เกี่ยวกับ...  ความหลากหลาย ทางชีวภาพ  ทรัพยากรน้ำ  อาชีพทาง การเกษตรและการ ดำรงชีพในชนบท  ถิ่นฐานมนุษย์ และ สุขภาพ เช่น จาก ภัยน้ำท่วม

8 8 การปรับตัว  การรับมือกับความไม่แน่นอน coping with uncertainty  การเรียนรู้จากประสบการณ์จริง learning from experience  การสร้างความสามารถ ใน การปรับตัว building adaptive capacity  การเชื่อมโยงในการพัฒนาให้รวมเป็นหนึ่ง อันเดียวกัน Integrating with development

9 9 เสนอแนะ 2 ในเบื้องต้นน่าจะให้ความสำคัญใน 2 ส่วน  การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำและการ ดำรงชีวิตในชนบท  ภัยพิบัติและการบริหารจัดการความเสี่ยง ต่อสภาพภูมิอากาศในถิ่นฐานของมนุษย์

10 10 องค์ความรู้กับการปฏิบัติ  องค์ความรู้มีการขยายมากขึ้น  งานวิจัยเป็นตัวชี้นำมีความจำเป็นมากขึ้น  ช่องว่าง เกิดจาก ไม่มีความรู้ ไม่สามารถเข้าถึงได้ เข้าถึงได้แต่ไม่ได้ นำมาใช้

11 11 ประชุมเสวนาครั้งแรก...  พัฒนาศักยภาพ ให้สูงขึ้น  การประสานงาน และ ความร่วมมือ  พื้นที่ของชุมชน  ประสบการณ์

12 12 สู่ยุทธศาสตร์  ความสามารถ ในการปรับตัว มีข้อจำกัดของทุกภาคส่วน ความต้องการมีอยู่มาก ในเชิงระยะยาวการลงทุนเป็นสิ่งที่จำเป็น  ให้ความสำคัญกับกลุ่มคนที่มีความ เปราะบางหรือด้อยโอกาส  สำหรับผู้วางแผนยุทธศาสตร์และนโยบาย การรับมือกับความไม่แน่นอน เป็นเรื่องที่ สำคัญมาก

13 13 การรับมือ กับความไม่แน่นอน  No-regrets ไม่มีทางเสีย  Reversible and flexible ทางเลือกที่สามารถ ทำตรงข้ามได้และมีความยืดหยุ่น  Wider safety margins ยอมลงทุนมากขึ้นเพื่อ ความปลอดภัยที่คุ้มค่า  Soft strategies ยุทธศาสตร์ที่ไม่จำเป็น ต้องมี การก่อสร้าง  Reduce decision-time horizons การ ตัดสินใจลงทุนเพื่อการใช้งานในช่วงเวลาที่สั้น กว่าเดิม

14 14 การสร้างความสามารถ  การมีส่วนร่วม  เอาใจใส่ต่อ สถาบัน  วิเคราะห์ ผลกระทบ จาก นโยบายและ สถาบัน

15 15 เสนอแนะ 3  การพัฒนาชุดฝึกอบรม สำหรับหน่วยงาน ของรัฐในระดับท้องถิ่น  การพัฒนาชุดฝึกอบรมโดยการแสดงให้ เห็นจริงและการดำเนินการร่วมกับ คณะกรรมการลุ่มน้ำ  ช่วยกระตุ้นให้มีการประเมินความต้องการ ในความสามารถของการปรับตัวโดยมีส่วน ร่วมของชุมชนที่มีน่าจะได้รับผลกระทบ มาก

16 16 ขอบคุณครับ  ดุสิตา กระวานชิด  ชญานิศ กฤตสุทธาชี วะ  เหมือนปอง จันโท ภาส  พิมพกานต์ เลอเบล  ราเจช โนเอล  ศุภกร ชินวรรโณ


ดาวน์โหลด ppt เวทีแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อ การปรับตัวต่อการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศใน ประเทศไทย ดร. หลุยส์ เลอเบล ผู้อำนวยการ หน่วยวิจัยสังคมและสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google