งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา
รศ.ดร.สุพักตร์ พิบูลย์...มสธ

2 การวิจัยในกระบวนการ พัฒนางานเชิงระบบ

3 System Approach :วิธีการเชิงระบบ
วิเคราะห์ สภาพปัญหา ความต้องการจำเป็น ค้นหาทางเลือก วิธีการใหม่ๆ มาแก้ปัญหา ประเมิน ผลการดำเนินงาน วางแผน/จัดทำ แผนงาน โครงการ หลักสูตร ดำเนินการตามแผน -นิเทศ กำกับ ติดตาม -ประเมินความก้าวหน้า

4 ประเมินความต้องการจำเป็น
บทบาทที่ 1 NEEDS ASSESSMENT ประเมินความต้องการจำเป็น

5 วิถีปฏิบัติของนักพัฒนา
สังเกต/ วิเคราะห์ปัญหา Pre-test นวัตกรรม สังเกต/ วัด-ประเมิน สภาพปัญหา ครั้งใหม่ Post-test X 1 วิธีการใหม่ ๆ 2

6 เกิดงาน ประเภทวิเคราะห์ วิจัยเชิงสำรวจ ประเมินความต้องการจำเป็น
เกิดงาน ประเภทวิเคราะห์ วิจัยเชิงสำรวจ ประเมินความต้องการจำเป็น เพื่อกำหนดนโยบาย จุดเน้น หรือทิศทางการพัฒนา

7 แนวปฏิบัติในการประเมิน ความต้องการจำเป็น NEEDS ASSESSMENT
1. ศึกษาปัญหา ความต้องการของลูกค้ากลุ่มต่าง ๆ 2. ประเมินศักยภาพขององค์กร -ศักยภาพของบุคลากร -ความพร้อมด้านปัจจัยพื้นฐานอื่นๆ -ระบบงาน/จุดเด่น-จุดด้อยของงานในระยะที่ผ่านมา

8 ปัญหา ความต้องการจำเป็นของ ลูกค้า/ผู้รับบริการจาก มทร. (Receiver Needs)
ปัญหา /ความต้องการของสังคม ชุมชน ในเขตพื้นที่บริการของมหาวิทยาลัย ปัญหา ความต้องการจำเป็นของสถานศึกษา หรือการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานในเขตพื้นที่บริการ

9 ประเภทลูกค้า Target Group Suspect Group Prospect Group
First Time Customers Repeated Customers Chaired/Involvement Customers

10 ปัญหาของสถาบัน/จุดอ่อน ข้อจำกัดสถาบัน (Provider Needs)
บุคลากร....ความรู้ ความสามารถ ความมุ่งมั่น ปัจจัยอื่น ๆ ระบบงานของสถาบัน รูปแบบการบริหารจัดการ ระบบฐานข้อมูล ระบบบริการต่าง ๆ

11 หลังจากทราบสภาพปัจจุบัน ปัญหา ความต้องการจำเป็นเร่งด่วน แล้ว
ก็เข้าสู่บทบาทที่ 2 ของนักพัฒนา

12 บทบาทที่ 2 ALTERNATIVES OR SOLUTIONS พัฒนาทางเลือก หรือวิธีการใหม่ ๆ
มาใช้ในการยกระดับคุณภาพงาน

13 เกิดงานวิจัย ประเภทการวิจัยและพัฒนา
Research and Development R & D ได้ทางเลือกใหม่ ๆ ในการยกระดับคุณภาพงาน หลักสูตรใหม่ๆ

14 วิถีปฏิบัติของนักพัฒนา ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์
สังเกต/ วิเคราะห์ปัญหา Pre-test นวัตกรรม สังเกต/ วัด-ประเมิน สภาพปัญหา ครั้งใหม่ Post-test X โครงการ 1 2 วิธีการใหม่ ๆ ปฏิบัติการที่สร้างสรรค์

15 วิจัยและพัฒนานวัตกรรม
1. สื่อ /คู่มือ/ชิ้นงาน/สิ่งประดิษฐ์ Materials 2. รูปแบบ/วิธีการ/กระบวนการ ในการปฏิบัติงาน Process/Procedure/Style

16 ตัวอย่างงานวิจัยประเภท R&D
ความเจริญก้าวหน้าขององค์กร ส่วนหนึ่งขึ้นอยู่กับความสามารถในการ วิจัยและพัฒนา ตัวอย่างงานวิจัยประเภท R&D

17 การพัฒนาเอกสารเสริมความรู้ ชุด การจัดการด้านสิ่งแวดล้อมในชุมชน
คู่มือ การดูแลสุขภาพในครอบครัว มาตรฐานสุขภาพสำหรับ ครอบครัวไทย รูปแบบการจัดการขยะมูลฝอยในชุมชน

18 พัฒนาคู่มืออาจารย์ มหาวิทยาลัย...
การพัฒนาเครือข่ายศิษย์เก่า มหาวิทยาลัย การพัฒนาระบบสำนักงานอัตโนมัติ มหาวิทยาลัย...

19 โปรแกรมวิเคราะห์ข้อสอบ
CAI/ชุด e-Learning ตำรา ชุดวิชา แฟ้มภาพทางการศึกษา โปรแกรมวิเคราะห์ข้อสอบ ฯลฯ

20 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้โครงงานในชุมชน
Community-Based Project Learning

21 การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้ผ่านเว็บไซด์
วิชา ผลงาน R & D ทรัพย์สินทางปัญญา

22 บทบาทที่ 3 วางแผน จัดทำแผนงาน/โครงการ/หลักสูตร PLANNING
วางแผนอย่างมีคุณภาพ

23 งานวิจัย ประเภทศึกษาความเป็นไปได้ ของนโยบาย /แผนงาน /โครงการ/หลักสูตร
1. ตรวจสอบในด้านความสอดคล้องกับปัญหา ความต้องการจำเป็น ความชัดเจนของจุดประสงค์ 2. ศึกษาความพร้อมด้านปัจจัยพื้นฐานเพื่อการดำเนินงาน

24 การศึกษาความเป็นไปได้ของหลักสูตรใหม่
ควรศึกษาในประเด็นต่าง ๆ อาทิ ความต้องการของตลาดแรงงาน/ความสอดคล้องกับปัญหาของประเทศ ความสนใจ/ความต้องการของผู้เรียนกลุ่มเป้าหมาย ความพร้อมด้านปัจจัยพื้นฐานของสถาบัน

25 บทบาทที่ 4 IMPLEMENTATION ดำเนินการตามแผน จนแล้วเสร็จ

26 ดำเนินการตามแผน อย่างมีประสิทธิภาพ
นิเทศ กำกับ-ติดตามงาน อย่างต่อเนื่อง สมํ่าเสมอ จัดให้มีการประเมินความก้าวหน้าเป็นระยะ ๆ ผลงาน

27 ได้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจ
วิจัยเชิงประเมิน ประเภทประเมินความก้าวหน้า ประเมินสรุปผลการดำเนินงาน และ การติดตามผล/ประเมินผลกระทบ Evaluation Research ได้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจ

28 ประเมินความก้าวหน้าโครงการ...
ประเมินผลการฝึกอบรมหลักสูตร…... ติดตามบัณฑิตผู้สำเร็จการศึกษา สาขา ศึกษาผลกระทบการฝึกอบรมหลักสูตร... ฯลฯ

29 ในวงจรการปฏิบัติงานอย่างเป็นระบบ เกิดงานวิจัยในลักษณะใดบ้าง
เชิญช่วยกันสรุปครับ ทำอย่างไรจึงจะเกิดงานวิจัย

30 หลักการและแนวปฏิบัติ ในการส่งเสริมให้เกิดการวิจัยและพัฒนา
เรื่อง หลักการและแนวปฏิบัติ ในการส่งเสริมให้เกิดการวิจัยและพัฒนา เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพต่อตนเอง ชุมชน และการศึกษาในท้องถิ่น

31 แนวปฏิบัติในการวิจัยและพัฒนา ให้เกิดประสิทธิภาพต่อตนเองและ ต่อชุมชนในเขตพื้นที่บริการ
สร้างความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับการวิจัยตามภาระหน้าที่ การบริหารงานในเชิงระบบและลักษณะการวิจัยที่ควรดำเนินการในกระบวนการพัฒนางาน วิเคราะห์แยกแยะกลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มลูกค้าของสถาบันที่สำคัญ ๆ ในท้องถิ่นหรือในชุมชน สำรวจปัญหา/ความต้องการจำเป็นของลูกค้ากลุ่มต่าง ๆ รวมทั้งปัญหาของสถาบันเอง

32 เน้นการวิจัยและพัฒนา เพื่อพัฒนางานของสถาบัน ของชุมชน และของสถานศึกษาในเขตพื้นที่บริการ รวมทั้งให้ความสำคัญกับการวิจัยเชิงประเมินเพื่อประเมินความก้าวหน้า ประเมินสรุปผล หรือติดตามผลงานที่ได้ดำเนินการไปแล้ว ใช้กระบวนการจัดการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาเป็นกลไก/เครื่องมือในการวิจัยและพัฒนา ทั้งพัฒนางานของสถาบัน และพัฒนางานขององค์กร/ชุมชน ในเขตพื้นที่บริการของสถาบัน(เน้นให้นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาทำการศึกษา ค้นคว้า วิจัยและพัฒนางานในบทบาทหน้าที่ขององค์กรที่ตนสังกัด)

33 6. อาจารย์ผู้สอนในระดับบัณฑิตศึกษา ควร พัฒนาชุดโครงการวิจัย ตามความถนัดและความสนใจของตน(ในสาขาที่เชี่ยวชาญ) แล้วให้นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาร่วมรับผิดชอบงานวิจัยย่อย ๆ ภายใต้ชุดโครงการวิจัยขนาดใหญ่

34 กระบวนการประเมินการปฏิบัติงาน
ชุดโครงการวิจัย เรื่อง การพัฒนาระบบและ กระบวนการประเมินการปฏิบัติงาน

35 ชุด พัฒนามาตรฐานการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน มาตรฐานระบบดูแลช่วยเหลือเด็กในชุมชน มาตรฐานงานด้านการวัดและประเมินผลการศึกษา มาตรฐานการบริหารจัดการหลักสูตรสำหรับโรงเรียนขนาดเล็ก

36 7. จัดให้มีการพัฒนาระบบฐานขอมูลงานวิจัยเพื่อพัฒนาตนเอง /ชุมชน/สังคม/การศึกษาในท้องถิ่น เพื่อการสืบค้นและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกัน 8. จัดให้มีการประชุมเสนอผลงานวิจัยเพื่อพัฒนาตนเอง ชุมชน การศึกษาในท้องถิ่น ในรอบปี โดยมีปฏิทินที่ชัดเจนและเป็นที่รับทราบตรงกัน

37 9. เน้นปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม
9. เน้นปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม -ร่วมระหว่างคณาจารย์ของสถาบันเพื่อทำการวิจัย(สร้างองค์ความรู้ ควบคู่กับการสร้างนักวิจัยใหม่) -ร่วมกับองค์กรหรือบุคลากรในเขตพื้นที่บริการ(เพื่อบริการทางวิชาการ เพื่อสร้างเครือข่ายนักวิจัยในเขตพื้นที่/สร้างเครือข่ายนักพัฒนาในเขตพื้นที่)

38 10. ในกระบวนการทำงานควรมี
"Political Concern" 11. อื่น ๆ


ดาวน์โหลด ppt ลักษณะและประเด็นวิจัย สำหรับคณาจารย์สถาบันอุดมศึกษา

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google