งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)
ระบบรายงาน ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)

2 ระบบการจัดเก็บข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือนปัจจุบัน
กรอบบัญชีรายชื่อพืช ผังการรายงานข้อมูล วิธีสำรวจข้อมูลโดย RRA กรมส่งเสริม การเกษตร นิยามศัพท์

3 ระบบการจัดเก็บข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน
ในปัจจุบัน

4 1 เปลี่ยนระบบโปรแกรมฯ Offline Online

5 เปลี่ยนระดับการจัดเก็บ
2 เปลี่ยนระดับการจัดเก็บ (รม.) (รต.) ตำบล หมู่บ้าน 74,779 หน่วยการจัดเก็บ 7,226 หน่วยการจัดเก็บ

6 เปลี่ยนกรอบการจัดเก็บชนิดพืช (แต่สามารถเลือกกำหนดพืชทางเลือกได้)
3 เปลี่ยนกรอบการจัดเก็บชนิดพืช กรมฯ กำหนดจัดเก็บ เลือกเองทั้งหมด ชนิดพืชบังคับ (แต่สามารถเลือกกำหนดพืชทางเลือกได้)

7 กรอบบัญชีรายชื่อพืช

8 กรมฯ กำหนด (พืชเศรษฐกิจ)
กรอบบัญชีรายชื่อพืช กรอบพืชบังคับ กรอบพืชทางเลือก กรมฯ กำหนด (พืชเศรษฐกิจ) 252 ชนิดพืช อำเภอต้องจัดเก็บตามบัญชีพืชบังคับ (ตามที่ปลูกจริง) พื้นที่กำหนดเองตามที่ต้องการ จัดเก็บ (ชนิดพืชนอกเหนือจากกรอบพืชบังคับ) จังหวัด อำเภอร่วมพิจารณา

9 แบบจัดเก็บข้อมูล แบ่งออกเป็น 2 แบบ
ข้าว พืชไร่ พืชผัก ไม้ดอกไม้ประดับ สมุนไพรและเครื่องเทศ (รต. 01) ไม้ผล ไม้ยืนต้น สมุนไพรและเครื่องเทศ (รต. 02) ระดับการจัดเก็บ ระดับตำบล

10 ผังระบบรายงานข้อมูล ภาวะการผลิตพืช (รต.)

11 ผังกระบวนการทำงานของระบบฯ โดยสังเขป
ระบบการผลิตพืชรายเดือน (รต.) ปัญหาการจัดเก็บ - การจัดทำบัญชีคุมพืช โดยกำหนดชนิดพืชที่จัดเก็บมากเกินไป ไม่สอดคล้องกับการทำงานของเจ้าหน้าที่ระดับตำบล - หน่วยการจัดเก็บข้อมูลที่เล็กเกินไป คือระดับหมู่บ้าน (ประเทศไทย 74,779 หมู่บ้าน เทศบาล 1,241 แห่ง รวมหน่วยการจัดเก็บ 76,020 หน่วยการจัดเก็บ) เลือกกรอบบัญชีคุมพืช ตรวจสอบ พืชบังคับ พืชทางเลือก ไม่อนุมัติ อนุมัติ อำเภอบันทึกครบ 100 % (รม.01 รม.02) ไม่อนุมัติ (ส่งกลับแก้ไข) อนุมัติ /บันทึกเดือนต่อไป สำนักงานเกษตรอำเภอ สำนักงานเกษตรจังหวัด

12 การสำรวจข้อมูล RRA

13 สำรวจ RRA แบบกรมส่งเสริมการเกษตร ?
เทคนิคการสำรวจข้อมูลเพื่อการพัฒนาชนบท เป็นการสำรวจข้อมูลที่รวดเร็วและเข้าถึงข้อมูลได้อย่างตรงจุด ใช้ระยะเวลาสั้น ประหยัดงบประมาณในการดำเนินการ สำรวจ RRA แบบกรมส่งเสริมการเกษตร ? การจัดเตรียมกรอบข้อมูลสำหรับการสำรวจจากฐานข้อมูลทะเบียนเกษตร (ทบก 01.) สุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) 5 % จัดทำบัญชีรายชื่อเกษตรกรจากการสุ่มตามกิจกรรมการเพาะปลูกพืชเพื่อวางแผนเส้นทางการสำรวจ กำหนดประเด็นในการสอบถามให้ครอบคลุม ตามแบบ รต.01 และ รต.02

14

15 นิยามศัพท์

16 เนื้อที่ไว้หน่อ ไว้ตอ
ราคาเฉลี่ย = ราคาที่เกษตรขายได้ ณ หน้าฟาร์ม ในช่วงเวลาที่ รายงานข้อมูล โดยคิดราคาที่เกษตรกรขายได้ซ้ำๆ กันมากที่สุด เช่น ในช่วง 1 เดือน งาดำ ต.ทุ่งนา ขายได้ กก. ละ 100 บาท เป็นเวลา 20 วัน และขายได้ราคา 105 บาท เป็นเวลา 10 วัน ราคาเฉลี่ย เท่ากับ 100 บาท (ค่าฐานนิยม) เนื้อที่ไว้หน่อ ไว้ตอ = เนื้อที่ของพืชบางชนิดเมื่อทำการเก็บเกี่ยวผลผลิตแล้ว เนื้อที่ปลูกดังกล่าวยังคงเหลือ เช่น กล้วย อ้อย สับปะรด เป็นต้น

17 ชนิดพืชที่กำหนดฤดูปลูก
= ฤดูฝน เพาะปลูกพืช ตั้งแต่ 1 พ.ค – 31 ต.ค (ภาคใต้ยกเว้น จังหวัดชุมพร ตั้งแต่ 1 ก.ค – 29 ก.พ ) = ฤดูแล้ง เพาะปลูกพืช ตั้งแต่ 1 พ.ย – 31 เม.ย (ภาคใต้ยกเว้น จังหวัดชุมพร 1 มี.ค – 31 มิ.ย) ชนิดพืชที่กำหนดฤดูปลูก ข้าว ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ถั่วเขียวผิวดำ ถั่วเขียวผิวมัน ถั่วลิสง 6. ถั่วเหลือง 7. ข้าวโพดรับประทานฝักสด 8. ถั่วเหลืองฝักสด

18 สวัสดี


ดาวน์โหลด ppt ข้อมูลภาวะการผลิตพืชรายเดือน (รต.)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google