งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก
ศูนย์อนามัยที่ 1 ดนยา ธนะอุดม นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ ศูนย์อนามัยที่ 1 กรุงเทพฯ

2 ร้อยละ 65 ผ่านการประเมินโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว ระดับทอง
ชุมชนต้นแบบด้านพัฒนาสุขภาพแม่และเด็ก จังหวัดละ 1 หมู่บ้าน

3 ศูนย์เด็กเล็กในชุมชน ด้านสุขภาพอนามัยและพัฒนาการของเด็ก
ศูนย์เด็กเล็กระดับพื้นฐานพัฒนาเป็นระดับดี อำเภอละ 1 แห่ง ศูนย์เด็กเล็กดีเด่นด้านสุขภาพอนามัยพัฒนาการ โภชนาการระดับจังหวัด จังหวัดละ 1 แห่ง โดยพัฒนาจากศูนย์เล็กระดับพื้นฐาน

4 หญิงตั้งครรภ์ติดเชื้อเอชไอวี ไม่เกิน 0.65%
การถ่ายทอดเชื้อ เอชไอวี จากแม่สู่ลูกไม่เกิน 3.6%

5 ผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2553
(ตุลาคม 2552 – กันยายน 2553) ศูนย์อนามัยที่ 1 กรุงเทพฯ เป้าหมาย นนทบุรี ปทุมธานี อยุธยา อ่างทอง รวม 1.อัตราหญิงตั้งครรภ์รายใหม่ฝากครรภ์ก่อนหรือเท่ากับ 12 สัปดาห์ ร้อยละ 55 43.23 93.85 33.33 45.18 50.13 2.อัตราแม่ที่มีอายุน้อยกว่า 20 ปี คลอดบุตร ไม่เกิน ร้อยละ 10 17.40 (17.48) 22.96 (23.59) 20.37 (17.24) 21.69 (21.47) 18.33 (19.07) 3.อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อยกว่า 2,500 กรัม ร้อยละ 7 8.70 (8.34) 4.50 (9.39) 9.43 (3.68) 8.38 (9.78) 8.12 (7.28) 4.อัตราทารกแรกเกิดขาดออกซิเจน 1 นาทีหลังคลอด 30 : 1000 LB 20.96 (21.29) 9.93 (23.20) 18.87 (24.58) 28.95 (16.53) 19.69 (22.88)

6 ผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2553 (ตุลาคม 2552 – กันยายน 2553)
ศูนย์อนามัยที่ 1 กรุงเทพฯ เป้าหมาย นนทบุรี ปทุมธานี อยุธยา อ่างทอง รวม 5.อัตราส่วนการตายมารดา ไม่เกิน 18 : 100,000 LB 21.72 0.00 17.74 6.อัตราตายทารก 16.7 : 1,000 LB 1.30 0.66 1.15 7.อัตราตายปริกำเนิด 9 : 1,000 การเกิดทั้งหมด 4.87 (4.94) 1.32 (4.67) 18.52* (7.18) 3.99 (8.07) 4.42 (3.76) 8.อัตราเด็ก 0-6 เดือน กินนมแม่อย่างเดียว 30 84.06 111.62 62.50 48.82 90.21

7 ผลการดำเนินงานอนามัยแม่และเด็ก ปี 2553 (ตุลาคม 2552 – กันยายน 2553)
ศูนย์อนามัยที่ 1 กรุงเทพฯ เป้าหมาย นนทบุรี ปทุมธานี อยุธยา อ่างทอง รวม 9. เด็ก 0-5 ปี พัฒนาการสมวัย 90 97.74 (99.74) 99.96 (99.79) 100 (97.28) 86.57 (99.86) 98.92 (98.83) 10. ร้อยละของเด็กอายุ เดือน ,ติดเชื้อ เอชไอวี จากแม่สู่ลูก ไม่เกินร้อยละ 3.6 0.0 2.7 11.1* 3.5 11. โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัวผ่านระดับทอง ร้อยละ 65 5 6 11 27 - ประเมินซ้ำ 2554 3 12 2 20

8 แนวทางการดำเนินงาน ปี 2554

9 1. โครงการโรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
1.1 ประชุมทีมประเมินของจังหวัด / ศูนย์อนามัยที่ 1 1.2 ประเมินโรงพยาบาล จำนวน 20 แห่ง นนทบุรี 3 แห่ง รพ.พระนั่งเกล้า / รพ.ไทรน้อย / รพ.ชลประทาน ปทุมธานี 3 แห่ง รพ.ปทุมธานี / รพ.ลำลูกกา / รพ.ธัญบุรี อ่างทอง 2 แห่ง รพ.อ่างทอง / รพ.วิเศษชัยชาญ อยุธยา 12 แห่ง รพ.พระนครศรีอยุธยา / รพ.เสนา / รพ.ผักไห่ / รพ.ท่าเรือ / รพ.บางปะอิน / รพ.มหาราช / รพ.บางบาล / รพ.อุทัย / รพ.วังน้อย / รพ.สมเด็จฯ / รพ.ภาชี / รพ.บางปะหัน

10 2. ชุมชนต้นแบบด้านการพัฒนาสุขภาพแม่และเด็ก
พื้นที่ดำเนินการ จ.นนทบุรี  รพ.พระนั่งเกล้า จ.ปทุมธานี  หมู่บ้านปัญจรี ต.ปรอก อ.เมือง จ.พระนครศรีอยุธยา  ม.6 บ้านช้าง ต.ศาลาลอย อ.ท่าเรือ จ.อ่างทอง  ม.8 ต.บางเจ้าฉ่า อ.โพธิ์ทอง 3. ศูนย์เด็กเล็ก มอบโล่ ศูนย์เด็กเล็กดีเยี่ยมระดับเขต ศูนย์เด็กเล็กดีเยี่ยมระดับจังหวัด พัฒนาศักยภาพ เจ้าหน้าที่ พี่เลี้ยง อาสาสมัคร

11 4. โครงการป้องกันการถ่ายทอดเชื้อ
เอช ไอ วี จากแม่สู่ลูก นโยบาย Couples VCT ยา HAART ปรับปรุงโปรแกรม

12 5. การป้องกันการคลอดก่อนกำหนด โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว
ประชุมทีม MCH Board 6. พัฒนาคุณภาพบริการ โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว จัดประชุม ANC แนวใหม่ WHO / พัฒนาระบบบริการตามมาตรฐาน โรงพยาบาลสายใยรักแห่งครอบครัว นิเทศติดตาม

13


ดาวน์โหลด ppt งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google