งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน กับงานสร้างเสริมสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน กับงานสร้างเสริมสุขภาพ"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน กับงานสร้างเสริมสุขภาพ
สถานะสุขภาพ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน กับงานสร้างเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 10 กรมอนามัย

2 เชียงราย พะเยา น่าน แพร่ เชียงใหม่ ลำพูน ลำปาง แม่ฮ่องสอน

3 สถิติชีพ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน
อัตราการเกิดและอัตราการตายอย่างหยาบปี ต่อ 1000 ปชก.

4 สถิติชีพ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน
อัตราการเกิดสูงสุด : แม่ฮ่องสอน ปี อัตราการเกิดต่ำสุด : ลำพูน ปี ทำให้อัตราเพิ่มติดลบ จังหวัดที่มีอัตราเกิดสูงสุดและต่ำสุดเมื่อเปรียบเทียบรายจังหวัดในเขต 10

5 งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก ภายใต้โครงการสายใยรักฯ
สถานะสุขภาพ งานพัฒนาอนามัยแม่และเด็ก ภายใต้โครงการสายใยรักฯ กลยุทธ: โรงพยาบาลสายใยรักฯ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

6 สถานการณ์ปัญหา ปัญหาสำคัญ 1. ทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม
1. ทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่า 2,500 กรัม - ทารกคลอดก่อนกำหนด - การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์/แม่อายุน้อย 2. อัตราตายมารดาสูงกว่าเกณฑ์ ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ อัตราตายมารดา ไม่เกิน 18 ทารกแรกเกิดน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ ไม่เกิน 7 % อัตราการฝากครรภ์ครบ 4 ครั้ง 90 %

7 ปี 2547 – 2551 (มี 4 จังหวัดที่อัตราตายค่อนข้างสูง)
อัตราการตายของมารดา เป้าหมายไม่เกิน 18 : แสนการเกิดมีชีพ ปี – (มี 4 จังหวัดที่อัตราตายค่อนข้างสูง) ต่อแสนการเกิดมีชีพ สีแดง = ภาพรวม 8 จังหวัด มี 3 จังหวัดที่มีอัตรามารดาตาย ขึ้น-ลง อยู่ในช่วงใกล้เคียงกับภาพรวม ยกเว้น แม่ฮ่องสอน มักจะสูงกว่า

8 อัตราการตายของมารดา เป้าหมายไม่เกิน 18 : แสนการเกิดมีชีพ
อัตราการตายของมารดา เป้าหมายไม่เกิน 18 : แสนการเกิดมีชีพ ปี – (4 จังหวัดที่มีอัตราตายค่อนข้างต่ำ) ต่อแสนการเกิดมีชีพ มี 4 จังหวัดที่อัตราตายมารดาต่ำเป็น 0 หรือถ้าสูงขึ้นบ้างก็ไม่เกินภาพรวมของเขต ซึ่งน่าจะมีการศึกษารูปแบบการดำเนินงานเพื่อถอดบทเรียน

9 อัตราทารกแรกเกิด น.น.<2,500 กรัม ปี 2540 – 2551
อัตราทารกแรกเกิด น.น.<2,500 กรัม ปี – 2551 มี 3 จังหวัดที่สูงกว่าเกณฑ์อย่างต่อเนื่องตลอด 5 ปีย้อนหลัง ภาพรวมเขตสูงกว่าเกณฑ์เล็กน้อย ถ้าจะเร่งรัดดำเนินการ/R&D ใน 3 จังหวัด คือ ลำพูน แม่ฮ่องสอน และ น่าน ในขณะที่จังหวัดอื่น ๆ ก็รักษามาตรฐานเรื่อง ANC ก็จะทำให้ภาพรวมของเขตดีขึ้น

10 อัตราการฝากครรภ์ ANC ครบ 4 ครั้ง ปี 2551
เป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ร้อยละ

11 กลุ่มวัยเรียนและวัยรุ่น ภายใต้โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ
สถานะสุขภาพ กลุ่มวัยเรียนและวัยรุ่น ภายใต้โครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ ประเด็นยุทธศาสตร์ : ลดปัจจัยเสี่ยงวัยเรียนและวัยรุ่น กลยุทธ : โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ/ยิ้มสดใสเด็กไทย ฟันดี / ทักษะชีวิตวัยเรียน วัยรุ่น

12 สถานการณ์ปัญหา ปัญหาสำคัญ 1. ฟันผุในเด็กนักเรียนประถมศึกษา
2. Teenage Pregnancyในวัยเรียนวัยรุ่น ตัวชี้วัดที่สำคัญ 1. ร้อยละ 80 ของนักเรียน ป. 1 และ ป. 3 ได้รับบริการตรวจฟัน 2. ร้อยละ 40 ของนักเรียน ป. 1 ได้รับเคลือบหลุมร่องฟัน 3. ร้อยละ 60 ของโรงเรียนสังกัด สพฐ. มีส้วมผ่านเกณฑ์มาตรฐาน HAS 4. ร้อยละ 50 ของโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพผ่านเกณฑ์ ระดับทอง 5. จำนวนโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพผ่านเกณฑ์ระดับเพชร สพท. ละ 1 แห่ง

13 ร้อยละเด็ก 3 ปี ปราศจากฟันผุจำแนกเป็นเขตและปีที่สำรวจ
ข้อมูลจากระบบเฝ้าระวังซึ่งได้จากการสำรวจรายปีที่ทางจังหวัดได้ดำเนินการและส่งมายังกองทันตสาธารณสุข ทำให้สามารถจัดระดับความเสี่ยงต่อการเกิดโรคฟันผุตามเขตและจังหวัดได้ ทั้งนี้ทางกองทันตสาธารณสุขได้ใช้ข้อมูลร่วมกับศูนย์อนามัยเขตในการสนับสนุนและดูแลการทำงานของจังหวัด แหล่งข้อมูล : การสำรวจกลุ่มอายุสำคัญรายปี 13

14 ร้อยละของเด็กอายุ 12 ปี ปราศจากโรคฟันผุ
แยกตามภาคและประเทศปี โดยภาพรวม ศูนย์อนามัยที่ 7 และ 10 มีสภาวะปราศจากฟันผุในเด็กกลุ่มอายุ 12 ปั สูงกว่าเขตอื่นๆและค่อนข้างคงที่ ที่ร้อยละ 50 โดยประมาณ ในขณะที่จังหวัดในศูนย์อนามัยที่ 12 มีปัญหาเด็กฟันผุค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับเขตอื่นๆ 14

15 ร้อยละของแม่คลอดบุตรที่มีอายุน้อยกว่า 20 ปี พ.ศ. 2548 – 2550
ร้อยละของแม่คลอดบุตรที่มีอายุน้อยกว่า 20 ปี พ.ศ – 2550 ปี 2548 2549 2550 2551 ลำปาง 13.34 17.72 15.00 15.27 น่าน 10.90 13.21 14.38 15.22 แม่ฮ่องสอน 16.93 14.47 19.05 19.74 พะเยา 12.19 13.42 15.02 13.54 เชียงใหม่ 16.89 16.62 13.98 12.87 แพร่ 12.23 11.28 16.56 11.27 ลำพูน 13 9.22  9.10 เชียงราย  18.2  14.5  14.4 15.02  เขต 8 จว. 15.37 14.96 13.39 14.21

16 ภายใต้โครงการคนไทยไร้พุง
สถานะสุขภาพ กลุ่มวัยทำงาน ภายใต้โครงการคนไทยไร้พุง

17 แนวทางแก้ไขปัญหา ประเด็นยุทธศาสตร์ : แก้ไขปัญหาโรคอ้วน
กลยุทธ : คนไทยไร้พุง / องค์กรต้นแบบสุขภาพ ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ 1. ร้อยละ 85 ของประชาชนชายอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวไม่เกิน 90 ซม. 2. ร้อยละ 85 ของประชาชนหญิงอายุ 15 ปีขึ้นไป มีรอบเอวไม่เกิน 80 ซม. 3. ร้อยละของ สสจ. ที่ผ่านการประเมินเป็นองค์กรต้นแบบไร้พุง

18 สถานการณ์ปัญหา จากการสุ่มสำรวจวัดรอบเอวระดับสะดือ พบว่า
เพศชายมีรอบเอวระดับสะดือเกินปกติน้อยกว่าเพศหญิง = 3 : 7 ข้อมูลการเฝ้าระวังภาวะรอบเอวเกินปกติ ศูนย์อนามัยที่ 10 ปี 2551 ร้อยละของการวัดรอบเอวที่เกินปกติ (หญิง) ในชมรมสร้างสุขภาพ เขต 10 ปี 2551

19 สถานการณ์ปัญหา ร้อยละของการวัดรอบเอวที่เกินปกติ (หญิง)
ร้อยละของการวัดรอบเอวที่เกินปกติ (หญิง) โรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ เขต 10 ปี 2551

20 สถานการณ์ปัญหา ร้อยละของการวัดรอบเอวที่เกินปกติ (หญิง)
ร้อยละของการวัดรอบเอวที่เกินปกติ (หญิง) หน่วยงานของรํฐในอำเภอเมือง เขต 10 ปี 2551

21 ภายใต้โครงการบูรณาการวัดส่งเสริมสุขภาพ
สถานะสุขภาพ กลุ่มวัยผู้สูงอายุ ภายใต้โครงการบูรณาการวัดส่งเสริมสุขภาพ

22 แนวทางแก้ไขปัญหา ประเด็นยุทธศาสตร์ : การส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ
กลยุทธ : วัดส่งเสริมสุขภาพ / ชมรมสร้างสุขภาพผู้สูงอายุ/ ฟันเทียมพระราชทาน ตัวชี้วัดระดับผลลัพธ์ 1. วัดส่งเสริมสุขภาพอำเภอละ 1 แห่ง 2. ตำบลที่มีชมรมผู้สูงอายุมีกิจกรรมด้านสุขภาพเดือนละ 1 ครั้ง 3. ร้อยละของผู้สูงอายุใส่ฟันเทียม

23 ก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ
สถานการณ์สังคมผู้สูงอายุภาคเหนือ และ เชียงใหม่ ที่มา : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ ก้าวสู่สังคมผู้สูงอายุ

24 สถานการณ์สังคมผู้สูงอายุภาคเหนือ และ เชียงใหม่
ประชากรแยกตามกลุ่มอายุและเพศ ปี 2550ในเขต 10 (ข้อมูล ณ ธันวาคม ) (เฉพาะผู้ที่มีสัญชาติไทย และมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน) กลุ่มอายุ (ปี) ชาย หญิง รวม ร้อยละ วัยพึ่งพิง อายุ ปี 499,331 474,930 974,261 18 อายุ 15 – 59 ปี 1,853,912 1,918,900 3,772,812 70 อายุ 60 – 79 ปี 276,932 304,831 581,763 10.54 12 อายุ 80 ปีขึ้นไป 36,681 48,293 84,974 1.46 รวมทั้งหมด 2,666,856 2,746,954 5,413,810 100 30 ประชากรในกลุ่มวัยพึ่งพิงในเขต 10 ค่อนข้างสูงคิดเป็นร้อยละ ส่วนประชากรผู้สูงอายุเท่ากับร้อยละ 12 ที่มา : กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

25 สถานการณ์สังคมผู้สูงอายุภาคเหนือ และ เชียงใหม่
โครงสร้างประชากรจำแนกตามอายุและเพศ 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน ปี 2550 หญิง ชาย

26 ร้อยละของผู้มีโรคปริทันต์ในกลุ่มวัยทำงานและผู้สูงอายุ
คก. ส่งเสริมสุขภาพช่องปากในชมรมผู้สูงอายุ คก.ส่งเสริมป้องกันโรคในช่องปากตามชุดสิทธิประโยขน์ผู้สูงอายุ ข้อมูลจากการสำรวจสุขภาพช่องปากแห่งชาติ ครั้งล่าสุด พบว่า สภาวะโรคปริทันต์ในกลุ่มผู้สูงอายุเพิ่มสูงขึ้นอย่างมาก สะท้อนให้เห็นถึงปัญหาการเข้าถึงบริการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุ จึงได้มีการพัฒนา คก. ส่งเสริมสุขภาพช่องปากในกลุ่มนี้โดยผ่านชมรมผู้สูงอายุ และพัฒนา core package ด้าน สส.สุขภาพในชุดสิทธิประโยชน์ ปีการสำรวจ 26

27 ร้อยละของผู้มีฟันใช้งานได้ 20 ซี่ในกลุ่มวัยทำงานและผู้สูงอายุ (ภาพรวมทั้งประเทศ)
ร้อยละของผู้มีฟันใช้งานได้ 20 ซี่มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น หากแต่ยังคงเป็นฟันที่มีสภาวะโรคปริทันต์ จึงได้เริ่มพัฒนาหาแนวทางในการจัดบริการส่งเสริมสุขภาพช่องปากในกลุ่มวัยทำงานและผู้สูงอาย 27

28 โครงการฟันเทียมพระราชทาน
การมีฟันคู่สบครบ 4 คู่สบเป็นตัวชี้วัดที่สะท้อนคุณภาพในการบดเคี้ยวอาหารของผู้สูงอายุที่สามารถมีประสิทธิภาพมากพอในการบดเคี้ยวอาหารเพื่อการดำรงชีวิตประจำวันได้ พบว่า อัตราส่วนผู้สูงอายุที่มีคู้สบฟันแท้ครบ 4 คู่ค่อนข้างต่ำ สะท้อนถึงความความต้องการฟันเทียมเพื่อทดแทนฟันที่หายไป และความรีบด่วนของการจัดทำโครงการส่งเสริมป้องกันไม่ให้เกิดการสูญเสียฟัน โครงการฟันเทียมพระราชทาน พ.ศ. ข้อมูลจากฐานข้อมูลการเฝ้าระวังสภาวะทันตสุขภาพรายปี 28

29 สถานะสุขภาพ ปัญหาเฉพาะพื้นที่ : ภาวะขาดสารไอโอดีน
ปัญหาเฉพาะพื้นที่ : ภาวะขาดสารไอโอดีน โครงการ เขต 15 ร่วมใจ สร้างเด็กไทยสมองไว ด้วยไอโอดีน โครงการควบคุม/ป้องกันการขาดสารไอโอดีน พระราชดำริในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ

30 ปัญหาเฉพาะพื้นที่ การแก้ไขภาวะขาดสารไอโอดีน ตัวชี้วัดสำคัญ
มาตรการ การใช้เกลือเสริมไอโอดีน , น้ำเสริมไอโอดีน การเสริมไอโอดีนในอาหาร , การให้ความรู้ด้านโภชนศึกษา การเฝ้าระวังภาวะขาดสารไอโอดีน ตัวชี้วัดสำคัญ 1. ตรวจ Urine Iodine ในหญิงตั้งครรภ์ 2. ตรวจ TSH ในเด็กแรกเกิด 3. สำรวจเกลือไอโอดีนในครัวเรือนมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน

31 ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะขาดไอโอดีน จากการสุ่มสำรวจตั้งแต่ ปี 2543-2550 ในเขต 15

32 ร้อยละของหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะขาดไอโอดีน จากการสุ่มสำรวจตั้งแต่ ปี 2543-2550 ในเขต 16

33 จำนวนการตั้งครรภ์ / กลุ่มตัวอย่างการตรวจ Urine Iodine
เพื่อเฝ้าระวังภาวะขาดไอโอดีนในหญิงตั้งครรภ์ จังหวัด N = จำนวน Sample S. ลำปาง 5,440 300 น่าน 4,221 แม่ฮ่องสอน 3,642 250 พะเยา 3,560 เชียงใหม่ 18,577 400 แพร่ 3037 ลำพูน 3,220 เชียงราย 10,903 350 เขต 8 จว. 52,600 2,350(2268) ใช้ Taro Yamane สูตร n = NZ 2 00π(1- π) Ne2 + Z2 π (1- π) หรือ n = N 1 + Ne2 e = π = Z = 1.96 ความเชื่อมั่น 95% คลาดเคลื่อน (e) ได้ไม่เกิน (2%)

34 ร้อยละของครัวเรือนที่ใช้เกลือเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพ

35 การแก้ไขปัญหาวัยรุ่น
พัฒนารูปแบบ Best Practice องค์กรไร้พุง การดูแลผู้สูงอายุ การแก้ไขปัญหาวัยรุ่น R&D Teenage Pregnancy LBW พัฒนาการเด็กไทย กับไอโอดีน

36 "ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี"
สวัสดี กรมอนามัย "ส่งเสริมให้คนไทยสุขภาพดี"


ดาวน์โหลด ppt 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน กับงานสร้างเสริมสุขภาพ

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google