งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การบริหารเศรษฐกิจ ภาคการผลิต การค้า และการลงทุน โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง วันพฤหัสบดีที่ 20 ธันวาคม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การบริหารเศรษฐกิจ ภาคการผลิต การค้า และการลงทุน โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง วันพฤหัสบดีที่ 20 ธันวาคม."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การบริหารเศรษฐกิจ ภาคการผลิต การค้า และการลงทุน โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง วันพฤหัสบดีที่ 20 ธันวาคม 2550 ณ โรงแรมพูลแมนคิงเพาเวอร์กรุงเทพ

2 2 I.1997 – 1998: วิกฤตเศรษฐกิจ II.2001 – 2005: เร่งรัดการขยายตัว III.2006 – 2007: วิกฤตการเมือง IV.2008 : อนาคตหัวข้อ

3 3 I. 1997 – 1998 : วิกฤตเศรษฐกิจ  วิกฤตเศรษฐกิจทำให้การผลิต การค้า การลงทุนถดถอย

4 4 I. 1997 – 1998 : วิกฤตเศรษฐกิจ (ต่อ)  มาตรการฟื้นฟูและสร้างเสถียรภาพในปี 1998-2000  การปรับโครงสร้างหนี้  การแก้ไขขบวนการล้มละลาย  การฟื้นฟูระบบสถาบันการเงิน (มาตรการ 14 ส.ค. 1998)  การสนับสนุนการลงทุนของภาคเอกชน (มาตรการ 10 ส.ค. 1999)

5 5 II. 2001 - 2005 : เร่งรัดการขยายตัว  เร่งรัดการขยายตัวทางเศรษฐกิจโดยการ เพิ่มอุปสงค์ในประเทศ การส่งออก และการ ลงทุน (Dual-track policy)  นโยบายและมาตรการเร่งรัดการขยายตัว  นโยบายและมาตรการทางการค้า หาตลาดใหม่ สร้างเครือข่ายและพันธมิตรทางการค้า ผ่าน FTA

6 6 II. 2001 - 2005 : เร่งรัดการขยายตัว (ต่อ)  นโยบายและมาตรการทางการผลิต อุตสาหกรรมเป้าหมาย OTOP การจัด Logistics การจัด Cluster จัดตั้งกองทุนปรับโครงสร้างการผลิตเพื่อเพิ่มขีด ความสามารถในการแข่งขัน ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงานด้วยการให้หักรายจ่าย เพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า จากเดิม 1.5 เท่า สนับสนุนให้ภาคเอกชนปรับเปลี่ยนเครื่องจักร - แฟชั่น - ยานยนต์ - อาหาร - ท่องเที่ยว - Graphics design

7 7 II. 2001 - 2005 : เร่งรัดการขยายตัว (ต่อ)  นโยบายและมาตรการทางการลงทุน ภาคธุรกิจ / อุตสาหกรรม –สนับสนุนการฟื้นตัวของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ –ลดภาษีให้ธุรกิจที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ / MAI และ SMEs ภาคประชาชน /รายย่อย –กองทุนหมู่บ้าน –ธนาคารประชาชน –แปลงสินทรัพย์เป็นทุน เร่งรัดการแปรูปรัฐวิสาหกิจ

8 8 II. 2001 - 2005 : เร่งรัดการขยายตัว (ต่อ)

9 9 III. 2006 - 2007 : วิกฤตการเมือง  เศรษฐกิจขับเคลื่อนโดยตัวเอง การส่งออกเป็น ภาคนำ 2006p 2007 Q1Q2Q3Q4Q1Q2Q3 GDP Growth (การใช้จ่าย)5.36.35.64.94.34.04.34.9 แหล่งที่มาของการขยายตัว อุปสงค์ในประเทศ2.83.93.22.61.61.11.32.7 การใช้จ่ายของครัวเรือน1.72.21.81.51.40.70.51.0 การใช้จ่ายของรัฐบาล0.20.30.50.3-0.30.8 1.0 การลงทุน0.91.40.90.80.4-0.30.00.6 การส่งออกสุทธิ4.17.56.50.42.44.53.91.2 ที่มา: สศช.

10 10 III. 2006 - 2007 : วิกฤตการเมือง (ต่อ) 0 5 1010 1515 EXPORTS: USD Bil. 5 1010 1515 IMPORTS: USD Bil. Export = Import Japan NAF TA EU27 ASEA N Middle-East BRIC EXPORT: CAGR % (98-06) IMPORTS: CAGR % (98-06) 5101520 5 10 15 20 25 AV = 9.8 AV. = 9.9 Japan NAFTA EUASEAN Middle-East BRIC โครงสร้างการส่งออก-นำเข้ารายภูมิภาค/ประเทศ

11 11 ขนาดเศรษฐกิจไทย ปี 2000 2005 2007 ขนาดของภาคการผลิตไทย GDP 5.4 ล้านล้านบาท ล้านบาท GDP 7.8 ล้านล้านบาท GDP 9.3 ล้านล้านบาท 62.2 ล้านคน64.8 ล้านคน65.8 ล้านคน GDP Per Capita 2000 2005 2007e 7.9 หมื่นบาท 1.09 แสนบาท 1.25 แสนบาท 32. 7 5 2. 1 32.7 52.1 82.4 (NOV.) International Reserves: USD Bil. ขนาดภาคการค้าระหว่างประเทศ ล้านล้านบาท

12 12 IV. 2008 : อนาคต  การบริหารนโยบายภาคการผลิต การค้า การ ลงทุน  การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญของเศรษฐกิจโลก เศรษฐกิจจีน อินเดีย ตะวันออกกลาง เพิ่ม ความสำคัญยิ่งขึ้น ราคาพลังงานและวัตถุดิบเพิ่มขึ้น ระบบการค้าโลกเป็นกลุ่ม / ระบบ WTO มีปัญหา

13 13 IV. 2008 : อนาคต (ต่อ) การเงินโลกไม่สมดุล ค่า US$ ตกต่อเนื่อง ความสำคัญของมาตรฐานความปลอดภัยและ สิ่งแวดล้อมเพิ่มขึ้น โดยเฉพาะเรื่องโลกร้อน  การเปลี่ยนแปลงที่สำคัญภายในประเทศ ความไม่เท่าเทียมทางรายได้และผลประโยชน์ การแข่งขันจากธุรกิจต่างประเทศ กระแสการบริโภคนิยม

14 14 IV. 2008 : อนาคต (ต่อ)  นโยบายและมาตรการสำคัญ  สร้างความสามารถในการปรับตัวของธุรกิจ ลดค่าใช้จ่ายทาง Logistics (การขนส่ง การสื่อสาร การใช้ ICT) เพิ่มความสามารถการผลิตตามมาตรฐานต่างๆ เพิ่มช่องทางการผลิตแบบเครือข่าย ส่งเสริมการจัด Cluster ส่งเสริม SMEs / OTOP ทั้งการเงิน การผลิตและ การตลาด เจรจาข้อตกลงพิเศษทางการค้า สนับสนุนการค้า/การลงทุนในตลาดใหม่

15 15 IV. 2008 : อนาคต (ต่อ)  สร้างความสามารถในการปรับตัวของคนทำงาน การฝึกอบรมพิเศษ การจัดระบบหางานใหม่  จัดการภาคเกษตร จัดระบบน้ำเพื่อการเกษตร และบริหารสินค้าเกษตรให้เกิดความ สมดุลระหว่างอาหารและพลังงาน ปฏิรูปภาคเกษตรที่อ่อนไหวต่อการแข่งขันจากต่างประเทศ  จัดระบบการลงทุนและการทำงานของต่างด้าวในภาค บริการ  สร้างความมั่นคงทางพลังงานด้วยมาตรการการค้าและ การลงทุน

16 16 IV. 2008 : อนาคต (ต่อ) Models of Globalization Hegemonic Cluster Universal Globalization– Localization ?


ดาวน์โหลด ppt การบริหารเศรษฐกิจ ภาคการผลิต การค้า และการลงทุน โดย ดร. ณรงค์ชัย อัครเศรณี ที่ปรึกษากิตติมศักดิ์สถาบันวิจัยนโยบายเศรษฐกิจการคลัง วันพฤหัสบดีที่ 20 ธันวาคม.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google