งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

บทที่ 2 Human ความจดจำของมนุษย์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "บทที่ 2 Human ความจดจำของมนุษย์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 บทที่ 2 Human ความจดจำของมนุษย์
Information stored in memory sensory, short-term, long-term วิชา การปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์

2 In formation Processing
Three major systems of human information processing: – Perceptual (read-scan)--> memory – Cognitive (think) – Motor system (respond) INPUT -> PROCESS -> OUTPUT วิชา การปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์

3 Memory There are three types of memory function: Sensory memories
Short-term memory or working memory Long-term memory Selection of stimuli governed by level of arousal. Attention Rehearsal

4 การจำแบบ sensory memory
การจดจำที่ติดอยู่กับการรับรู้ เราจะจำสิ่งที่เราเห็น สิ่งที่เราได้ยิน สิ่งที่เราได้กลิ่น เพียง 1/10 ของวินาที sensory memory จะรับข้อมูลมาจากอวัยวะต่างๆ Buffers for stimuli received through senses iconic memory: visual stimuli echoic memory: aural stimuli haptic memory: tactile stimuli Continuously overwritten คุณคงเคยมีประสบการณ์เช่นนี้กันมาแล้วบ้างคือ เมื่อคุณต้องการใช้โทรศัพท์ คุณเปิดหาหมายเลขที่ต้องการในสมุดโทรศัพท์ เมื่อพบแล้วคุณท่องหมายเลขนั้นซ้ำปิดสมุดโทรศัพท์ หยิบเหรียญออกมา ยกหูโทรศัพท์ หยอดเหรียญลงในช่อง เตรียมนิ้วมือกดเลขหมาย แต่เกิดลืมหมายเลขไปเสียแล้ว จำได้แต่หมายเลขข้างหน้า 3 ตัว ส่วนอีก 5 ตัวจำไม่ได้ว่าคือหมายเลขอะไร ความจำระยะสั้นจะหมดลงในช่วงเวลาประมาณครึ่งนาที ความจำระยะสั้นหมายถึง ข้อมูลจำนวนเล็กน้อยที่เราเก็บไว้ในลักษณะเตรียมพร้อมที่จะใช้ในระยะเวลาสั้น ๆ ช่วงหนึ่งประมาณ 30 วินาที ข้อมูลในความจำระยะสั้นเป็นข้อมูลที่เรากำลังใช้อยู่ในปัจจุบัน บางครั้งจึงเรียกความจำระยะสั้นว่า Working memory เป็นข้อมูลที่เรากำลังใช้ความตั้งใจจดจ่ออยู่ เรากำลังแปรเปลี่ยนข้อมูลนั้นและเรากำลังทบทวนซ้ำให้แก่ตัวเราเอง ดังเช่นตัวอย่างการจำหมายเลขโทรศัพท์ดังที่กล่าวถึงในตอนต้น เรายังใช้ความจำในระยะสั้นในชีวิตประจำวันอีกมากมายเช่น เวลาเราอ่านบทความหรือหนังสือ

5 วิชา 321488 การปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์

6 วิชา 321488 การปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์

7 วิชา 321488 การปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์

8 สมองขวา และ สมองซ้าย วิชา การปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์

9 การจำแบบ Short-term memory (STM)
เป็นการใช้สมอง ดึงหน่วยความจำออกมาใช้ จะเป็นการใช้ความคิดขณะที่เรากำลังทำสิ่งเหล่านั้น Scratch-pad for temporary recall rapid access ~ 70ms rapid decay ~ 200ms limited capacity - 7± 2 chunks เช่น ดูเว็บ ดูฟุตบอล กินไปติม มองสาว ขณะที่กำลังทำสิ่งเหล่านั้น ส่วนที่เป็นความคิดความจำ แต่จะจำได้ประมาณ 3o วินาที่ ที่เราจะจดจำได้ สมองของเราจะมีช่องในการเก็บข้อมูล ได้ คือการใช้เก็บสิ่งที่เรารู้จัก ในการออกแบบ แล้วจะต้องให้มนุษย์มีการตัดสินใจเลือก ควรจะมีทางเลือกให้เขาไม่เกิน 7 ตัวเลือก เพราะเขาจะจำได้ประมาณนี้ ความจำระยะสั้น หมายถึง จำหลังจากรับรู้สิ่งเร้าแล้วเพื่อนำมาใช้งาน ความจำนี้จำได้นาน 20 ถึง 30 วินาที หากไม่มีการทบทวน ข้อมูลที่จำแต่ละครั้งมีประมาณ 7 +  2 หน่วย หากมากกว่านี้อาจรวมหน่วยเข้าด้วยกันเพื่อให้เหลือน้อยหน่วยก็จะจำได้ง่าย ขึ้น เช่น ต้องจำ ซึ่งจำลำบาก เพราะมีถึง 12 หน่วย ถ้ารวมเป็น ก็จำได้ง่ายขึ้น เพราะมีเพียง 4 หน่วยใหญ่เท่านั้น แต่ละหน่วยใหญ่นี้เรียกว่า Chunk  ความจำระยะสั้นนี้จะสูญสลายไปอย่างรวด เร็ว จึงต้องมีการทบทวนอยู่ตลอดเวลาจึงจะรักษาไว้ได้ ทำโดยการท่องซ้ำ ๆ เช่น เปิดสมุดโทรศัพท์หาหมายเลขร้านค้า เมื่อพบก็ท่องในใจพร้อมหมุนโทรศัพท์ หากมีคนมารบกวน เช่น ชวนคุย หรือทักทาย ก็อาจลืมหมายเลขนั้นทั้งที่ยังหมุนไม่จบ หรือนำสิ่งที่กำลังจำไปสัมพันธ์กับสิ่งที่จำได้ถาวรแล้ว ในความจำระยะยาว เช่น จำชื่อเพื่อนใหม่ที่เพิ่งพบกันยังไม่ได้ แต่จำชื่อต้นของเขาได้ว่า คล้ายกับ “สุมาลี” เพื่อนเก่าของเรา เมื่อนึกถึงชื่อสุมาลีอาจทำให้นึกถึงชื่อเพื่อนใหม่ได้ว่า เขาชื่อ “สมุน” นั่นเอง สาเหตุที่ความจำระยะสั้นสูญสลายไปอย่างรวดเร็วเป็นเพราะเกิดการสลายตัว เนื่องจากระยะเวลาผ่านพ้นไป หรือถูกรบกวนโดยข้อมูลอื่นหากทบทวนอยู่เสมอ หรือนำไปสัมพันธ์กับสิ่งที่จำได้ถาวรแล้วจึงจะไม่ลืมไปอย่างรวดเร็ว

10 Examples HEC ATR ANU PTH ETR EET

11 จำได้หรือไม่ว่ามีข้อมูลอะไรบ้าง
Short Term Memory Test - Pictures วิชา การปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์

12 Examples

13 Examples 404 – 894 – 2000 404 – วิชา การปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์

14 ปัจจัยที่อาจเป็นผลต่อ SHORT-TERM MEMORY
ระดับ ความแปลกใหม่ ของข้อมูล (มีความสัมพันธ์กับข้อมูลที่เก็บไว้ใน long-term memory เพียงใด) Motivation: if no motivation -information loss from short-term storage in 2 sec. Clustering or Chunking วิชา การปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์

15 ข้อมูลที่อยู่ใน Short Term Memory
การที่ข้อมูลเก็บไว้ได้ในความจำระยะสั้นเพียงชั่วเวลาสั้นมากนั้นเป็นสิ่งที่ดี ซึ่งทำให้ เราสามารถรับข้อมูลใหม่เข้ามาแทนที่ได้ หากข้อมูลเก่ายังคงค้างอยู่นานเกินควร อาจเป็นการรบกวนการเรียนรู้และการตั้งใจรับรู้ในขณะปัจจุบัน 1. การแปลงรหัสในความจำระยะสั้น (Encoding in Short-Term Memory) ในการแปลงสิ่งเร้าจากการจำความรู้สึกสัมผัสไปอยู่ในรูปของความจำระยะสั้นมี ขั้นตอนในการดำเนินการอยู่ 2 ขั้นตอน ได้แก่ การทำการเปลี่ยนแปลงและการเก็บ รักษาข้อมูล 2. รูปแบบของการเก็บรักษาข้อมูล (Storage Form) การเก็บรักษาข้อมูลหลังจากการแปลงสิ่งเร้าการรู้สึกสัมผัสไม่ว่าจะโดยวิธี effortful processing หรือ automatic processing ในการแปลงสิ่งเร้าจากการจำความรู้สึกสัมผัสไปอยู่ในรูปของความจำระยะสั้นมีขั้นตอนในการดำเนินการอยู่ 2 ขั้นตอน ได้แก่ การทำการเปลี่ยนแปลงและการเก็บรักษาข้อมูล ประเภทของการทำการเปลี่ยนแปลง (Type of Processing) เราสามารถทำการเปลี่ยนแปลงสิ่งเร้าการรู้สึกสัมผัสได้ 2 วิธีที่เรียกว่า effortful processing และ automatic processing effortful processing คือการที่เราใช้ความพยายามที่จะจดจำสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่เรา ต้องการจดจำ เช่น เราต้องการจำชื่อคนที่เราพึ่งรู้จัก เราได้พยายามท่องชื่อเขาซ้ำ ๆ ในใจหลาย ๆครั้ง หรือต้องการจำความหมายของศัพท์ภาษาอังกฤษ เราก็ต้องพยายามท่องความหมายของศัพท์นั้นในใจหลาย ๆ ครั้ง ก็จะช่วยทำให้เราจำได้ดีขึ้น ส่วน automatic processing มีลักษณะตรงกันข้ามกับ effortful processing คือไม่ต้องใช้ความพยายามโดยตรงในการที่จะเก็บสิ่งที่เราต้องการจำไปไว้ในหน่วยความจำ วิชา การปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์

16 การจำแบบ Long-term memory (LTM)
ความจำระยะยาวเป็นความจำที่บุคคลจำได้หรือระลึก การจดจำโดยการคิดเปรียบเทียบกับสิ่งอื่นๆ การจดจำโดยสามารถลำดับเหตุการณ์ได้ เหตุการณ์ในวัยเด็กที่เคยได้รับอุบัติเหตุบางอย่าง จำเหตุการณ์ในช่วงที่เรียน ม.ปลายได้ที่ไปเที่ยวกับเพื่อนต่างจังหวัด ไปเรียนกวดวิชา เหตุการณ์ต่างๆที่นำความดีใจเสียใจหรือความทุกข์มาให้ชีวิตเรามักจะจำเหตุการณ์ ดังกล่าวได้เป็นอย่างดี การย้ำทวน การออกเสียง จะช่วยเปลี่ยน Short term memory เป็น long term memory

17 LTM - semantic network

18 ทฤษฎีความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Difference Theory)
เป็นทฤษฎีที่ชี้ให้เห็นว่าผู้รับสารแต่ละคนนั้นมีความแตกต่างกันในทางจิตวิทยา เช่น ทัศนคติ ค่านิยมและความเชื่อ ทำให้คนสนใจในการเปิดรับข่าวสารหรือตีความหมาย ข่าวสารจากสื่อมวลชนแตกต่างกัน หลักการพื้นฐานเกี่ยวกับทฤษฎีความแตกต่าง ระหว่างปัจเจกบุคคลมีดังนี้ 1. บุคคลมีความแตกต่างกันในด้านบุคลิกภาพและสภาพจิตวิทยา 2. ความแตกต่างกันดังกล่าวนี้เป็นเพราะบุคคลมีการเรียนรู้ 3. บุคคลที่อยู่ต่างสภาพแวดล้อมกันจะได้รับการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน 4. การเรียนรู้จากสภาพแวดล้อมที่แตกต่างกันทำให้บุคคลมีทัศนคติ ค่านิยม ความ เชื่อถือ และบุคลิกภาพที่แตกต่างกัน 5. ความแตกต่างระหว่างเพศ 1.  มนุษย์เรามีความแตกต่างกันมากในองค์ประกอบทางจิตวิทยาส่วนบุคคล 2. ความ แตกต่างนี้มีบางส่วนมาจากลักษณะแตกต่างทางชีวภาคหรือทางร่างกายของแต่ละ บุคคล แต่ส่วนใหญ่แล้วจะมาจากความแตกต่างที่เกิดจากการเรียนรู้ 3. มนุษย์ซึ่งถูกเลี้ยงภายใต้สถานการณ์ต่างๆ จะเปิดรับความคิดเห็นแตกต่างกันไป 4. การเรียนรู้สิ่งแวดล้อมทำให้เกิดทัศนคติค่านิยมและความเชื่อที่รวมเป็นลักษณะทางจิตวิทยาส่วนบุคคลที่แตกต่างกันไป วิชา การปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์

19 ความแตกต่างพื้นฐานของแต่ละบุคคล (Demographic differences)
คือความแตกต่างจากพื้นฐานของแต่ละบุคคล ด้าน เพศ อายุ เชื้อชาติ สมรรถภาพของ ร่างกาย ซึ่งเรียนว่า biographic characteristics เป็นตัวแปรสำคัญที่จะส่งผลต่อการ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของบุคคล เพศ อายุ สมรรถภาพของร่างกาย เชื้อชาติ พื้นฐานอื่น เช่น สถานะภาพการแต่งงาน จำนวนบุตร วิชา การปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์

20 ผลต่อความแตกต่างระหว่างวัย
ประสบการณ์ ความรู้ สมาธิ ความสามารถในการมองการอ่าน พูดถึงการรับรู้ของแต่ละวัย วิชา การปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์

21 ความแตกต่างทางด้านกายภาพ
ขนาดนิ้ว สายตา การมองเห็นในระยะไกล ขนาดของร่างกาย พูดถึงการรับรู้ของแต่ละวัย วิชา การปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์

22 วิชา 321488 การปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์


ดาวน์โหลด ppt บทที่ 2 Human ความจดจำของมนุษย์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google