งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วงจรนับ (COUNTER CIRCUIT)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วงจรนับ (COUNTER CIRCUIT)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วงจรนับ (COUNTER CIRCUIT)
โดย อาจารย์ชูศักดิ์ พุกกะพันธุ์ ตำแหน่งครูชำนาญการพิเศษ

2 บทนำ วงจรนับเป็นวงจรที่ทำงานโดยการนับจำนวน พัลส์สี่เหลี่ยมที่ป้อนเข้าทางอินพุต และแสดง ผลออกเป็นเลขฐาน 2 หรือเลขฐาน 10 โดยมีอุปกรณ์ที่สำคัญคือ ฟลิป-ฟลอป เกต(วงจรนับชนิดพิเศษ)

3 บทนำ แบ่งออกได้ 2 ชนิด คือ วงจรนับแบบซิงโครนัส วงจรนับแบบอะซิงโครนัส

4 วงจรนับแบบอะซิงโครนัส(Asynchronous)
วงจรนับขึ้น เป็นวงจรนับที่ฟลิปฟลอปแต่ละตัวทำงานเรียงลำดับ กัน โดยจะแสดงผลทางเอาต์พุตจากเลขลำดับ ต่ำสุดไปยังเลขสูงสุด

5 วงจรนับขึ้นแบบอะซิงโครนัสขนาด 2 บิต

6 วงจรนับขึ้นแบบอะซิงโครนัสขนาด 2 บิต
สัญญาณนาฬิกา

7 วงจรนับขึ้นแบบอะซิงโครนัสขนาด 2 บิต
ตารางความจริง นับเลขฐาน 2 นับเลขฐาน 10 B A 2s 1s 1 2 3

8 วงจรนับขึ้นแบบอะซิงโครนัสขนาด 3 บิต

9 วงจรนับขึ้นแบบอะซิงโครนัสขนาด 3 บิต
สัญญาณนาฬิกา

10 วงจรนับขึ้นแบบอะซิงโครนัสขนาด 3 บิต
ตารางความจริง นับเลขฐาน 2 นับเลขฐาน 10 C B A 4s 2s 1s 1 2 3 4 5 6 7

11 วงจรนับขึ้นแบบอะซิงโครนัสขนาด 4 บิต

12 วงจรนับขึ้นแบบอะซิงโครนัสขนาด 4 บิต
สัญญาณนาฬิกา

13 วงจรนับขึ้นแบบอะซิงโครนัสขนาด 4 บิต
ตารางความจริง นับเลขฐาน 2 นับเลขฐาน 10 D C B A 8s 4s 2s 1s 1 2 3 4 5 6 7

14 วงจรนับขึ้นแบบอะซิงโครนัสขนาด 4 บิต
ตารางความจริง นับเลขฐาน 2 นับเลขฐาน 10 D C B A 8s 4s 2s 1s 1 8 9 10 11 12 13 14 15

15 วงจรนับแบบอะซิงโครนัส(Asynchronous)
วงจรนับลง เป็นวงจรนับที่ฟลิปฟลอปแต่ละตัวทำงานเรียงลำดับ กัน โดยจะแสดงผลทางเอาต์พุตจากเลขลำดับสูง สุดไปยังเลขต่ำสุด

16 วงจรนับลงแบบอะซิงโครนัสขนาด 2 บิต

17 วงจรนับลงแบบอะซิงโครนัสขนาด 2 บิต
สัญญาณนาฬิกา

18 วงจรนับลงแบบอะซิงโครนัสขนาด 2 บิต
ตารางความจริง ลำดับของ สัญญาณ นาฬิกา นับเลขฐาน 2 นับเลขฐาน 10 B A 2s 1s 1 3 2

19 วงจรนับลงแบบอะซิงโครนัสขนาด 3 บิต

20 วงจรนับลงแบบอะซิงโครนัสขนาด 3 บิต
สัญญาณนาฬิกา

21 วงจรนับลงแบบอะซิงโครนัสขนาด 3 บิต
ตารางความจริง ลำดับของ สัญญาณ นาฬิกา นับเลขฐาน 2 นับเลขฐาน 10 C B A 4s 2s 1s 1 7 6 2 5 3 4

22 วงจรนับลงแบบอะซิงโครนัสขนาด 4 บิต

23 วงจรนับลงแบบอะซิงโครนัสขนาด 4 บิต
สัญญาณนาฬิกา

24 วงจรนับลงแบบอะซิงโครนัสขนาด 4 บิต
ตารางความจริง ลำดับของสัญญาณ นาฬิกา นับเลขฐาน 2 นับเลขฐาน 10 D C B A 8s 4s 2s 1s 1 15 2 14 3 13 4 12 5 11 6 10 7 9 8

25 วงจรนับลงแบบอะซิงโครนัสขนาด 4 บิต
ตารางความจริง ลำดับของสัญญาณ นาฬิกา นับเลขฐาน 2 นับเลขฐาน 10 D C B A 8s 4s 2s 1s 9 1 7 10 6 11 5 12 4 13 3 14 2 15 16

26 การนับแบบมอดูลัส(Modulous Counter)
การนับแบบมอดูลัสหมายถึง จำนวนครั้งของการนับหรือ จำนวนสถานะของการนับ เช่น วงจรนับอะซิงโครนัส ที่นับเลขขนาด 4 บิต อาจเรียกว่าวงจรมอดูลัส 16 (Mod-16 Counter) การหาค่าจำนวนฟลิปฟลอปในวงจรมีค่าเท่ากับ 2n โดย n คือ จำนวนฟลิปฟลอปในวงจรนับ

27 ตัวอย่างการออกแบบ จงออกแบบวงจรนับ Mod - 6 ให้นับเลขขึ้นตามลำดับ และ5 จำนวนฟลิปฟลอป = 3 ตัว ใช้วงจรนับแบบอะซิงโครนัสขนาด 3 บิต แต่ใช้วงจรเกต ควบคุมการนับ

28 3. เขียนตารางความจริงเพื่อหาวงจรเกต
นับ อินพุต เอาต์พุต C B A Y 1 2 3 4 5 6 7

29 4. จากตารางความจริงนำมาลดรูปสมการ
4. จากตารางความจริงนำมาลดรูปสมการ C B 00 01 11 10 A 1 1

30 5. จากสมการจะได้วงจรเกต
5. จากสมการจะได้วงจรเกต

31 วงจรนับแบบซิงโครนัส(Synchronous)
เป็นวงจรนับที่ต่อขาสัญญาณนาฬิกาควบคุมฟลิฟลิปทุกตัว ในวงจรให้ทำงานพร้อมกัน แต่การควบคุมให้วงจรนับ แสดงผลการนับเลขใด ๆ นั้นขึ้นอยู่กับการออกแบบวงจร ควบคุมอินพุตเจและเค ของฟลิปฟลอป จำนวนครั้งของการนับจะเหมือนกับแบบอะซิงโครนัส คือ 2n เมื่อ n คือ จำนวนฟลิปฟลอปของวงจรนับ

32 วงจรนับซิงโครนัสขนาด 3 บิต

33 การออกแบบวงจรควบคุมอินพุต J และ K ของฟลิปฟลอป
แต่ละตัวต้องใช้ตาราง Excitation ประกอบการออกแบบ วงจรเกต Action J K d 1

34 ตัวอย่าง จงออกแบบวงจรนับแบบซิงโครนัส ให้นับเลขได้ดังนี้
ตัวอย่าง จงออกแบบวงจรนับแบบซิงโครนัส ให้นับเลขได้ดังนี้ 1 2 3 4 5 6 7

35 1. เขียน State Transition diagram
101 110 111 011 010 001 100 000

36 2. ออกแบบวงจรควบคุม JA และ KA
ลำดับการนับ สภาวะของ A จากตาราง Excitation ผลของ JA ผลของ KA มี Action “0” “1” 1 d มี Action “1” “0”

37 1 d d 1 หาสมการ JA และ KA JA = 1 KA = 1 C B C B 00 01 11 10 00 01 11
1 1 JA = 1 KA = 1

38 3. ออกแบบวงจรควบคุม JB และ KB
C B C B 00 01 11 10 00 01 11 10 A d 1 A d 1 1 1 JB = A KB = A

39 4. ออกแบบวงจรควบคุม JC และ KC
C B C B 00 01 11 10 00 01 11 10 A d 1 A d 1 1 1 JC = AB KC = AB

40 5. นำผลของวงจรควบคุม J และ K มาเขียน Logic Diagram

41 จงออกแบบวงจรนับซิงโครนัส ให้นับเลขได้ตาม State Transition diagram
110 111 101 000 100 001 011 010

42 1. จาก State Transition Diagram จะเห็นว่าโจทย์ต้องการให้วงจรซิงโครนัสนับเลข ดังนี้
1 2 3 4

43 2. ลดรูปหาวงจร JA, KA, JB, KB, JC, KC
3. เขียน Logic diagram


ดาวน์โหลด ppt วงจรนับ (COUNTER CIRCUIT)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google