งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ข้อเสนอตัวชี้วัด หน่วยงานส่วนกลาง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ข้อเสนอตัวชี้วัด หน่วยงานส่วนกลาง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ข้อเสนอตัวชี้วัด หน่วยงานส่วนกลาง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555

2 กลุ่มภารกิจหลัก จำนวน 13 หน่วยงาน ได้แก่
จำนวน หน่วยงาน ได้แก่ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข สถาบันวิจัยสมุนไพร ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพด้านการแพทย์และสาธารณสุข ศูนย์วิจัยทางคลินิค สำนักเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย สำนักรังสีและเครื่องมือแพทย์ สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร สำนักยาและวัตถุเสพติด สถาบันชีววัตถุ สำนักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ สำนักกำกับ พรบ.เชื้อโรคและพิษจากสัตว์ ศูนย์ปฏิบัติการตรวจคัดกรองสุขภาพทารกแรกเกิด ศูนย์ประเมินความเสี่ยง

3 สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข
ประเด็นยุทธศาสตร์ วิจัย วิเคราะห์ และประเมินความเสี่ยงเพื่อแจ้งเตือนภัยด้านวิทยาศาสตร์ การแพทย์และสาธารณสุข ตัวชี้วัดที่ 2.1 การพัฒนาเครือข่ายการศึกษาทางเภสัชพันธุศาสตร์เพื่อการลดค่าใช้จ่าย ทางการแพทย์โดยการใช้ยาเฉพาะบุคคล ( ) น้ำหนัก ร้อยละ 10 คำอธิบาย : ระดับ 1 - จัดประชุมเพื่อทบทวนการทำงานและเร่งติดตามการเก็บตัวอย่างจากเครือข่ายการศึกษาทาง เภสัชศาสตร์เพื่อการลดค่าใช้จ่ายทางการแพทย์โดยการใช้ยาเฉพาะบุคคล ซึ่งประกอบด้วย องค์กรภายในกระทรวง สาธารณสุข เช่น เลขาธิการ อย. รพ.ในสังกัด กสธ. ศวก. - เชิญโรงพยาบาลและหน่วยงานต่างๆเข้าร่วมประชุมเครือข่ายโครงการวิจัย ได้รับการตอบรับทั้งหมด 12 หน่วยงาน ภายในไตรมาส ที่ 3 2 ดำเนินการศึกษาวิจัยโดยเครือข่ายที่พัฒนาขึ้น - ดำเนินการขออนุมัติโครงการวิจัยจากคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ของโรงพยาบาล เพื่อดำเนินการเก็บตัวอย่างอาสาสมัครโครงการวิจัย - ได้ตัวอย่างเพื่อทำการวิจัยที่โรงพยาบาลอย่างน้อย 10 แห่ง หลังจากได้รับการอนุมัติพิจารณา ดำเนินโครงการวิจัยในมนุษย์จากแต่ละโรงพยาบาล

4 สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข
ประเด็นยุทธศาสตร์ วิจัย วิเคราะห์ และประเมินความเสี่ยงเพื่อแจ้งเตือนภัยด้านวิทยาศาสตร์ การแพทย์และสาธารณสุข ตัวชี้วัดที่ 2.1 การพัฒนาเครือข่ายการศึกษาทางเภสัชพันธุศาสตร์เพื่อการลดค่าใช้จ่าย ทางการแพทย์โดยการใช้ยาเฉพาะบุคคล ( ) น้ำหนัก ร้อยละ 10 คำอธิบาย : ระดับ 3 มีข้อมูลการกระจายตัวของ HLA-B ในคนไทย จำนวนอย่างน้อย ตัวอย่าง 4 ทำรายงานการศึกษาของตัวอย่างที่ได้รับในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 - ตีพิมพ์ในวารสารในประเทศ 1 รายงาน 5 - เก็บตัวอย่างผู้ป่วยที่มีภาวะแพ้ยาชนิด SJS/TENS สำหรับ 5 ตัวยา ที่พบได้บ่อย โดยมุ่งศึกษายา ที่ยังไม่พบปัจจัยเสี่ยงพันธุกรรมที่ชัดเจน - มีอาสาสมัครที่มีอาการภาวะแพ้ยาชนิด SJS/TENS เข้าร่วมโครงการจำนวนอย่างน้อย 100 ราย - ทำการวิเคราะห์ HLA-B Genotyping เพื่อหาความสัมพันธ์กับ ภาวะแพ้ยาชนิด SJS/TENS จากยาที่พบได้บ่อย อย่างน้อย 2 ตัวยา - เปรียบเทียบการกระจายตัวของลักษณะพันธุกรรมในยีน HLA-B ระหว่างกลุ่มและกลุ่ม SJS/TENS - ตีพิมพ์ในวารสารต่างประเทศ 1 รายงาน

5 สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาและรับรองคุณภาพห้องปฏิบัติการ ตัวชี้วัดที่ 2.2 การพัฒนาการตรวจเชื้อเอชไอวีดื้อยาต้านไวรัสเทคนิคจีโนทัยป์จากตัวอย่าง กระดาษซับเลือด ( ) น้ำหนัก ร้อยละ 10 คำอธิบาย : ระดับ 1 จัดทำแผนการดำเนินงานการพัฒนาการตรวจเชื้อเอชไอวีดื้อยาต้านไวรัสเทคนิคจีโนทัยป์จากตัวอย่างกระดาษซับเลือด เสนอผู้บริหารให้ความเห็นชอบ 2 ดำเนินการศึกษาตามแผน ได้แก่ เตรียมตัวอย่างควบคุมบวก คัดเลือกชุดน้ำยาสกัด DNA/ชุดน้ำยา PCR หาสภาวะที่เหมาะสมสำหรับการทำ PCR ทดสอบความไวของวิธีวิเคราะห์ โดยตัวอย่างควบคุมบวก จัดหาตัวอย่างเลือดผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ประสานกับหน่วยงานภายนอก ทำการวิเคราะห์เชื้อเอชไอวีดื้อยาด้วยเทคนิคจีดนทัยป์จากกระดาษซับเลือด และจากพลาสมา 3 วิเคราะห์ข้อมูลการเพิ่มสารพันธุกรรมเชื้อเอชไอวี และจีโนทัยป์ของเชื้อเอชไอวีดื้อยาต้าไวรัสจากกระดาษซับเลือดผู้ติดเชื้อเอชไอวี เปรียบเทียบผลกับตัวอย่างพลาสมาจากผู้ติดเชื้อรายเดียวกัน และเข้าร่วมทดสอบความชำนาญตรวจเชื้อไอชไอวีดื้อยาต้นไวรัส (PT panel) กับองค์กรต่างประเทศ และส่งผลทันเวลา 4 รวบรวมและสรุปผลความสำเร็จตามแผนที่เสนอ 5 นำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ในงานเฝ้าระวังเชื้อเอชไอวีดื้อยาต้านไวรัสในกลุ่มเสี่ยงต่าง ๆ ของผู้ติดเชื้อที่ยังไม่เคยได้รับยาทั่วประเทศและ/หรือเปิดบริการ

6 สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข
ประเด็นยุทธศาสตร์ วิจัย วิเคราะห์ และประเมินความเสี่ยงเพื่อแจ้งเตือนภัยด้าน วิทยาศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข ตัวชี้วัดที่ 2.3 ร้อยละของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือภาคประชาชนที่นำข้อมูลหรือองค์ความรู้ ที่ได้จากการวิเคราะห์ วิจัย การประเมินความเสี่ยง และแจ้งเตือนภัยสุขภาพ ไปใช้ประโยชน์ น้ำหนัก ร้อยละ 10 คำอธิบาย : เปรียบเทียบจำนวนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือภาคประชาชนที่นำข้อมูลหรือองค์ความรู้ที่ได้ จากการวิเคราะห์ วิจัย การประเมินความเสี่ยง และแจ้งเตือนภัยสุขภาพไปใช้ประโยชน์ กับจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์ของโครงการ/งานวิจัย หรือข้อเสนอแนะ ในรายงานโครงการ/การวิจัย ระดับ 1 2 3 4 5 40 50 60 70 80 ตัวชี้วัดบังคับถ่ายทอดมาจากตัวชี้วัดกรม

7 สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข
ประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดที่ 2.4 ร้อยละเฉลี่ยในการให้บริการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด น้ำหนัก ร้อยละ 10 คำอธิบาย : พิจารณาจากร้อยละของตัวอย่าง/งานบริการที่ดำเนินการแล้วแสร็จตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ใน ประกาศกรม ฯ เรื่อง การกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของาน พ.ศ.2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และหรือระยะเวลาการให้บริการที่กำหนดตามประกาศของศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยเปรียบเทียบกับจำนวนตัวอย่างที่ดำเนินการแล้วเสร็จทั้งหมด ระดับ 1 2 3 4 5 50 60 70 80 90 สูตรการคำนวณ : จำนวนตัวอย่าง/งานบริการที่ดำเนินการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด X 100 จำนวนตัวอย่าง/งานบริการที่ดำเนินการแล้วเสร็จทั้งหมด เงื่อนไข : ให้หน่วยงานเก็บข้อมูลผลการดำเนินงานจริง 9 เดือน คือ ตั้งแต่ มค.-กย.2555 เพื่อใช้เป็นข้อมูลผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรอง ฯ โดยเก็บข้อมูลทุกตัวอย่าง

8 สถาบันวิจัยสมุนไพร ประเด็นยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดที่ 2.1 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาและยกระดับคุณภาพสมุนไพร น้ำหนัก ร้อยละ 15 คำอธิบาย : การพัฒนาและยกระดับคุณภาพผลิตภัณฑ์สมุนไพร หมายถึง การดำเนินงานเพื่อพัฒนาและ ยกระดับวัตถุดิบสมุนไพร/ผลิตภัณฑ์ยาจากสมุนไพร/ยาตำรับสมุนไพร ในบัญชียาหลัก แห่งชาติให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน และมีความปลอดภัย ระดับ 1 จัดทำแผนปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพหน่วยงานผลิตวัตถุดิบสมุนไพร/ผลิตภัณฑ์ยาจากสมุนไพร 2 ดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพหน่วยงานผลิตวัตถุดิบสมุนไพร/ผลิตภัณฑ์ยาจากสมุนไพรได้ครบถ้วน พร้อมจัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงาน 3 มีหน่วยงานที่ได้รับการพัฒนาและยกระดับคุณภาพวัตถุดิบสมุนไพร/ผลิตภัณฑ์ยาจากสมุนไพร จำนวน 2 แห่ง 4 มีหน่วยงานที่ได้รับการพัฒนาและยกระดับคุณภาพวัตถุดิบสมุนไพร/ผลิตภัณฑ์ยาจากสมุนไพร จำนวน 3 แห่ง 5 มีหน่วยงานที่ได้รับการพัฒนาและยกระดับคุณภาพวัตถุดิบสมุนไพร/ผลิตภัณฑ์ยาจากสมุนไพร จำนวน 4 แห่ง

9 สถาบันวิจัยสมุนไพร ประเด็นยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดที่ 2.2 ร้อยละของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือภาคประชาชนที่นำข้อมูลหรือองค์ความรู้ ที่ได้จากการวิเคราะห์ วิจัย การประเมินความเสี่ยง และแจ้งเตือนภัยสุขภาพ ไปใช้ประโยชน์ น้ำหนัก ร้อยละ 10 คำอธิบาย : เปรียบเทียบจำนวนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือภาคประชาชนที่นำข้อมูลหรือองค์ความรู้ที่ได้ จากการวิเคราะห์ วิจัย การประเมินความเสี่ยง และแจ้งเตือนภัยสุขภาพไปใช้ประโยชน์ กับจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์ของโครงการ/งานวิจัย หรือข้อเสนอแนะ ในรายงานโครงการ/การวิจัย ระดับ 1 2 3 4 5 40 50 60 70 80 ตัวชี้วัดบังคับถ่ายทอดมาจากตัวชี้วัดกรม

10 สถาบันวิจัยสมุนไพร ประเด็นยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ร้อยละเฉลี่ยในการให้บริการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด น้ำหนัก ร้อยละ 10 คำอธิบาย : พิจารณาจากร้อยละของตัวอย่าง/งานบริการที่ดำเนินการแล้วแสร็จตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ใน ประกาศกรม ฯ เรื่อง การกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของาน พ.ศ.2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และหรือระยะเวลาการให้บริการที่กำหนดตามประกาศของศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยเปรียบเทียบกับจำนวนตัวอย่างที่ดำเนินการแล้วเสร็จทั้งหมด ระดับ 1 2 3 4 5 50 60 70 80 90 สูตรการคำนวณ : จำนวนตัวอย่าง/งานบริการที่ดำเนินการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด X 100 จำนวนตัวอย่าง/งานบริการที่ดำเนินการแล้วเสร็จทั้งหมด เงื่อนไข : ให้หน่วยงานเก็บข้อมูลผลการดำเนินงานจริง 9 เดือน คือ ตั้งแต่ มค.-กย.2555 เพื่อใช้เป็นข้อมูลผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรอง ฯ โดยเก็บข้อมูลทุกตัวอย่าง

11 สถาบันวิจัยสมุนไพร ประเด็นยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดที่ ร้อยละเฉลี่ยของความสำเร็จในการพัฒนาห้องปฏิบัติการเพื่อให้ได้รับการรับรอง ตามมาตรฐานสากล น้ำหนัก ร้อยละ 5 คำอธิบาย : หมายถึง ร้อยละจำนวนของห้องปฏิบัติการ/รายการทดสอบสะสมของหน่วยงานที่ได้รับการรับรอง ตามมาตรฐานสากล เทียบกับจำนวนเป้าหมายรวมเมื่อสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ.2555 ของ แผนพัฒนาห้องปฏิบัติการของหน่วยงาน ปี ที่กำหนดเป้าหมาย หน่วยงานจะต้อง ได้รับการรับรองร้อยละ 100 ของรายการทดสอบที่สำคัญ ระดับ 1 2 3 4 5 80 85 90 95 100 เงื่อนไข : 1. ให้หน่วยงานเผยแพร่แผนพัฒนาห้องปฏิบัติการประจำปี 2555 ที่ได้รับความเห็นชอบจาก หัวหน้าหน่วยงานในเว็บไซด์ ภายในวันที่ 31 มีค.2555 2. หน่วยงานต้องได้รับการตรวจประเมินเบื้องต้นครบทุกรายการที่ยื่นขอการรับรอง และสามารถ ดำเนินการแก้ไขข้อบกพร่องให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่หน่วยงานรับรองกำหนด แต่ต้องไม่เกินวันที่ 31 ตค จึงจะนำมานับเป็นปริมาณสะสมได้

12 ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพด้านการแพทย์และสาธารณสุข
วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรที่มีความเป็นเลิศในการวิจัย พัฒนาเทคโนโลยีและชีวภัณฑ์ทางการแพทย์ ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. เพิ่มประสิทธิภาพในการวิจัย พัฒนา เทคโนโลยีและ ชีวภัณฑ์ทางการแพทย์ระดับห้องปฏิบัติการ 2. เพิ่มประสิทธิภาพในการวิจัย และพัฒนา ตามมาตรฐาน ที่กำกับ 3. ส่งเสริมการสร้างและใช้องค์ความรู้ เพื่อสนับสนุนการ ควบคุมป้องกันและรักษาโรค

13 ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพด้านการแพทย์และสาธารณสุข
ประเด็นยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพในการวิจัย พัฒนา เทคโนโลยีและชีวภัณฑ์ทางการแพทย์ ระดับห้องปฏิบัติการ ตัวชี้วัดที่ 2.1 ความสำเร็จของการวิจัยและพัฒนาสารต้นแบบทางยาต้านเชื้อวัณโรค จากสมุนไพร น้ำหนัก ร้อยละ 20 คำอธิบาย : เพื่อค้นหาสารมี่มีฤทธิ์ต้านเชื้อวัณโรคจากสารสกัดพืชพื้นบ้าน และสมุนไพรไทย และศึกษา เป้าหมายการออกฤทธิ์ในระดับโมเลกุลของสารต้านเชื้อวัณโรคที่แยกได้ ระดับ 1 ได้สารกึ่งบริสุทธิ์ที่มีฤทธิ์ต้าน Mycobacterium BCG และ Mycobacterium smegmatis อย่างน้อย 4 ชนิด 2 ได้สารบริสุทธิ์ อย่างน้อย 2 ชนิด ที่มีฤทธิ์ต้าน Mycobacterium BCG และ Mycobacterium smegmatis 3 ทราบโครงสร้างสารบริสุทธิ์อย่างน้อย 2 ชนิด โดยวิธี Nuclear magnetic resonance 4 ได้สารบริสุทธิ์อย่างน้อย 2 ชนิด ที่มีฤทธิ์ต้านวัณโรค (Mycobacterium tuberculosis) ที่ MIC < 25 µg/ml 5 ได้ผลการศึกษาตำแหน่งการออกฤทธิ์เบื้องต้นของสารบริสุทธิ์ชนิดที่ 1 โดยเทคนิค Microarray กับ whole Mycobacterium tuberculosis genome และผลวิเคราะห์สมมติฐาน biochemical pathway เบื้องต้น เป็นตัวชี้วัดต่อเนื่องจากปี 2554

14 ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพด้านการแพทย์และสาธารณสุข
ประเด็นยุทธศาสตร์ เพิ่มประสิทธิภาพในการวิจัย และพัฒนาตามมาตรฐานที่กำกับ ตัวชี้วัดที่ 2.2 ความสำเร็จของการพัฒนามาตรฐาน GLP ของโครงการสร้างวัคซีนต้นแบบ ป้องกันโรคไวรัสตับอักเสบบีและการพัฒนากระบวนการผลิต น้ำหนัก ร้อยละ 20 คำอธิบาย : เพื่อให้การสร้างวัคซีนป้องกันดรคไวรัสตับอักเสบบีต้นแบบและการพัฒนากระบวนการผลิต วัคซีนเป็นไปอย่างมีมาตรฐาน GLP ระดับ 1 พัฒนา Test Facility ได้แก่ จัดแบ่งบริเวณ ตู้เย็น ตู้แช่แข็ง สำหรับแยกเก็บตัวอย่าง ทดสอบ น้ำยาทดสอบ สารมาตรฐาน และ Archiving room 2 - จัดบรรยาย/ฝึกอบรม ด้าน GLP แก่บุคลากรอย่างน้อย 1 ครั้ง - สอบเทียบเครื่องมือ อย่างน้อยร้อยละ 50 ของจำนวนเครื่องมือที่ใช้ในโครงการ 3 - จัดตั้งโครงสร้างบุคลากรของโครงการ ได้แก่ Test Facility Management, Study Director, Researcher, Quality Assurance - ประชุมบุคลากรในการพัฒนา/ติดตามการดำเนินงานด้าน GLP อย่างน้อย 2 ครั้ง 4 - สอบเทียบเครื่องมือที่ใช้ในโครงการได้ครบถ้วน ร้อยละ 100 - จัดเตรียมเอกสารการใช้และการบำรุงรักษาเครื่องมือที่ใช้ในโครงการได้อย่างน้อย ร้อยละ 50 5 - จัดเตรียมเอกสาร SOP การใช้และการบำรุงรักษาเครื่องมือที่ใช้ในโครงการได้ครบถ้วนร้อยละ 100 - จัดเตรียมเอกสาร SOP วิธีการทดสอบที่ใช้ในโครงการ ได้อย่างน้อยร้อยละ 50

15 ศูนย์วิจัยทางคลินิก วิสัยทัศน์ ประเด็นยุทธศาสตร์
เป็นผู้นำด้านวิจัยทางคลินิกระดับประเทศในปี 2555 ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนางานวิจัยทางคลินิกตามมาตรฐานสากล

16 ศูนย์วิจัยทางคลินิก ตัวชี้วัดที่ 2.1 ระดับความสำเร็จของการวิจัยเซลล์ต้นกำเนิดที่สามารถบูรณาการสู่การวิจัย ทางคลินิก น้ำหนัก ร้อยละ 20 คำอธิบาย : พิจารณาจากความสำเร็จของการดำเนินโครงการความเป็นได้และความปลอดภัยของ เซลล์ต้นกำเนิดจากไขกระดูกเมื่อฉีดเข้าวุ้นตาแก่ผู้ป่วยโรคจอตามีสารสีที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม ระดับ 1 ทบทวนปัญหา อุปสรรค ผลการดำเนินงานที่ผ่านมา เพื่อนำไปใช้เป็นข้อมูลประกอบการจัดทำแผนปฏิบัติการ และแผนดังกล่าวได้รับการอนุมัติจากผู้บริหาร 2 ดำเนินการตามแผนได้ร้อยละ 50 ของกิจกรรมตามแผน ได้แก่ กิจกรรมในระดับคะแนน 1 และกิจกรรม ต่อไปนี้ ประสานความร่วมมือระหว่างนักวิจัย จัดประชุมนักวิจัยที่เกี่ยวข้อง แต่งตั้งคณะทำงานวิจัย จัดทำโครงการวิจัยเพื่อรับการอนุมัติ 3 ดำเนินการตามแผนได้รัอยละ 75 ของกิจกรรมตามแผน ได้แก่ กิจกรรมในระดับคะแนน 1, 2 และกิจกรรมต่อไปนี้ - ตรวจสอบกระบวนการทางห้องปฏิบัติการทั้งหมดก่อนทำการวิจัยในอาสาสมัคร 4 ดำเนินการตามแผนได้รัอยละ 100 ของกิจกรรมตามแผน ได้แก่ กิจกรรมในระดับคะแนน 1,2,3 และกิจกรรม ต่อไปนี้ ทำการวิจัยในอาสาสมัคร สรุปผลการดำเนินโครงการ เผยแพร่ผลการวิจัย 5 มีการสรุปผลการวิจัย ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ สำหรับปีงบประมาณ 2556 รายงานต่อผู้บริหาร และมีการเผยแพร่ผลงานวิจัยของปี 2555

17 ศูนย์วิจัยทางคลินิก ตัวชี้วัดที่ 2.2 ระดับความสำเร็จของผลการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางห้องปฏิบัติการด้าน พันธุกรรมทางคลินิก น้ำหนัก ร้อยละ 10 คำอธิบาย : พิจารณาจากความสำเร็จของการวิจัยและพัฒนาวัสดุควบคุมคุณภาพการตรวจ Hb typing เพื่อวินิจฉัยโรคธาลัสซีเมีย สำหรับใช้เองภายในประเทศ เพื่อลดภาระค่าใช้จ่าย และมีชนิดของ ฮีโมโกลบินที่เหมาะสมกับประชากรไทย ส่งผลให้การวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการมีคุณภาพยิ่งขึ้น ระดับ 1 - ทบทวนข้อมูลที่เกี่ยวข้อง ปัญหาอุปสรรค และผลการดำเนินงานที่ผ่านมาเพื่อนำมาใช้เป็นข้อมูล ประกอบการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2555 - จัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2555 2 ดำเนินการได้ ร้อยละ 50 ของกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการ ได้แก่ ออกแบบวิธีวิจัย พัฒนาวิธีเตรียมวัสดุควบคุมคุณภาพ 3 ดำเนินการได้ ร้อยละ 75 ของกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการ ได้แก่ ศึกษาความเหมาะสมของวัสดุควบคุมคุณภาพในการนำไปใช้ในงานภายในห้องปฏิบัติการ 4 ศึกษาความเหมาะสมของวัสดุควบคุมคุณภาพแบบ Multicenter validation 5 - สรุปผลการดำเนินงาน - เผยแพร่ผลการวิจัย

18 ศูนย์วิจัยทางคลินิก ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับความสำเร็จของกระบวนการวิจัยทางคลินิก น้ำหนัก ร้อยละ 10 คำอธิบาย : การดำเนินการศึกษาวิจัยในมนุษย์ โดยดำเนินการตามแนวทางปฏิบัติที่ดี (GCP) และคำนึงถึง สิทธิ ความปลอดภัย และความเป็นอยู่ที่ดีของอาสาสมัคร ทั้งนี้ข้อมูลที่ได้จากการวิจัยนี้นต้องมี ความถูกต้อง สามารถตรวจสอบได้ มีการสรุปผลการดำเนินงานของโครงการและรายงาน ความปลอดภัยของอาสาสมัคร ระดับ 1 - จัดทำแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ แต่งตั้งคณะทำงานโครงการวิจัยทางคลินิก เสนอโครงร่างการวิจัยเพื่อขอการรับรองจริยธรรมการวิจัย จัดประชุมคณะผู้วิจัย 2 ดำเนินการวิจัยทางทางคลินิกโครงการศึกษาชีวสมมูลของยาโครงการที่ 1 แล้วเสร็จพร้อมสรุปผล 3 ดำเนินการวิจัยทางทางคลินิกโครงการศึกษาชีวสมมูลของยาโครงการที่ 2 แล้วเสร็จพร้อมสรุปผล 4 ดำเนินการวิจัยทางทางคลินิกโครงการศึกษาชีวสมมูลของยาโครงการที่ 3 แล้วเสร็จพร้อมสรุปผล 5 ดำเนินการวิจัยทางทางคลินิกโครงการศึกษาชีวสมมูลของยาโครงการที่ 4 แล้วเสร็จพร้อมสรุปผล

19 สำนักเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย
วิสัยทัศน์ เป็นห้องปฏิบัติการอ้างอิงระดับภูมิภาคอาเซียน เพื่อสนับสนุนการคุ้มครองผู้บริโภคและการส่งออก ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. เพิ่มศักยภาพห้องปฏิบัติการอ้างอิงด้านเครื่องสำอางและวัตถุ อันตรายให้เป็นที่ยอมรับระดับภูมิภาคอาเซียน 2. พัฒนา ศึกษา วิจัย องค์ความรู้ และนวัตกรรมด้านเครื่องสำอาง และวัตถุอันตราย 3. พัฒนากระบวนการเฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการในการแจ้ง เตือนภัยผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางและวัตถุอันตรายที่มีความเสี่ยง 4. สนับสนุนการพัฒนางานด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์เพื่อชุมชน 5. พัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลและความรู้ ภายในองค์กร

20 สำนักเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย
ประเด็นยุทธศาสตร์ เพิ่มศักยภาพห้องปฏิบัติการอ้างอิงด้านเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย ให้เป็นที่ยอมรับระดับภูมิภาคอาเซียน ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จของการจัดทำวิธีวิเคราะห์ของประเทศด้านเครื่องสำอางและ วัตถุอันตราย น้ำหนัก ร้อยละ คำอธิบาย : คัดเลือกวิธีวิเคราะห์เครื่องสำอางทางเคมี 1 วิธี ชีววิทยา 1 วิธี วัตถุอันตรายทางชีววิทยา 1 วิธี จากมาตรฐานวิธีวิเคราะห์ของสำนัก ฯ มาปรับปรุงเนื้อหาให้ครบถ้วนสมบูรณ์ เพื่อเสนอกรม ฯ จัดทำเป็นเอกสารมาตรฐานวิธีวิเคราะห์ของประเทศ สำหรับห้องปฏิบัติการด้านเครื่องสำอางและ วัตถุอันตรายใช้อ้างอิงในการตรวจวิเคราะห์ ระดับ 1 - แต่งตั้งคณะทำงานจัดทำวิธีวิเคราะห์มาตรฐานด้านเครื่องสำอางและด้านวัตถุอันตราย - ทบทวนและคัดเลือกวิธีวิเคราะห์ด้านเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย 2 - กำหนดรูปแบบเอกสารวิธีวิเคราะห์ - จัดทำร่างเอกสารวิธีวิเคราะห์ - ปรับปรุงและแก้ไขเนื้อหาให้ครบถ้วนสมบูรณ์ 3 เสนอเอกสารวิธีวิเคราะห์มาตรฐานให้กรม เพื่อพิจารณาดำเนินการประกาศวิธีวิเคราะห์ 1 วิธี 4 เสนอเอกสารวิธีวิเคราะห์มาตรฐานให้กรม เพื่อพิจารณาดำเนินการประกาศวิธีวิเคราะห์ 2 วิธี 5 เสนอเอกสารวิธีวิเคราะห์มาตรฐานให้กรม เพื่อพิจารณาดำเนินการประกาศวิธีวิเคราะห์ 3 วิธี

21 สำนักเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย
ประเด็นยุทธศาสตร์ เพิ่มศักยภาพห้องปฏิบัติการอ้างอิงด้านเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย ให้เป็นที่ยอมรับระดับภูมิภาคอาเซียน ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จของการจัดทำวิธีวิเคราะห์ของอาเซียนด้านเครื่องสำอาง น้ำหนัก ร้อยละ คำอธิบาย : พิจารณาจากจำนวนวิธีวิเคราะห์ของอาเซียนด้านเครื่องสำอางที่เสนอ Lead country ของ ACTLC ระดับ 1 - แต่งตั้งคณะทำงานจัดทำวิธีวิเคราะห์ของอาเซียนด้านเครื่องสำอาง - ทบทวนและคัดเลือกวิธีวิเคราะห์ด้านเครื่องสำอาง 2 - จัดทำร่างเอกสารวิธีวิเคราะห์ - ปรับปรุงและแก้ไขเนื้อหาให้ครบถ้วนสมบูรณ์ 3 เสนอเอกสารวิธีวิเคราะห์ให้คณะกรรมการเครือข่ายห้องปฏิบัติการของอาเซียนด้านเครื่องสำอาง (ASEAN Cosmetic Testing Laboratory Committee, ACTLC) ผ่าน Lead country ของ ACTLC เพื่อพิจารณาดำเนินการประกาศเป็นวิธีวิเคราะห์ของอาเซียนด้านเครื่องสำอาง (ASEAN Cosmetic Method, ACM) 1 วิธี 4 เสนอเอกสารวิธีวิเคราะห์ให้คณะกรรมการเครือข่ายห้องปฏิบัติการของอาเซียนด้านเครื่องสำอาง (ASEAN Cosmetic Testing Laboratory Committee, ACTLC) ผ่าน Lead country ของ ACTLC เพื่อพิจารณาดำเนินการประกาศเป็นวิธีวิเคราะห์ของอาเซียนด้านเครื่องสำอาง (ASEAN Cosmetic Method, ACM) 2 วิธี 5 เสนอเอกสารวิธีวิเคราะห์ให้คณะกรรมการเครือข่ายห้องปฏิบัติการของอาเซียนด้านเครื่องสำอาง (ASEAN Cosmetic Testing Laboratory Committee, ACTLC) ผ่าน Lead country ของ ACTLC เพื่อพิจารณา3 วิธี

22 สำนักเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย
ประเด็นยุทธศาสตร์ เพิ่มศักยภาพห้องปฏิบัติการอ้างอิงด้านเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย ให้เป็นที่ยอมรับระดับภูมิภาคอาเซียน ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จของการขยายแผนงานการให้บริการทดสอบความชำนาญ การวิเคราะห์ด้านเครื่องสำอางและด้านวัตถุอันตรายแก่ห้องปฏิบัติการภายในประเทศ น้ำหนัก ร้อยละ คำอธิบาย : การขยายแผนงานให้บริการทดสอบความชำนาญ ในปี 2555 จำนวน 2 แผน ได้แก่ ห้องปฏิบัติการเครื่องสำอางที่มีการตรวจจุลินทรีย์ (Clostridium spp.) ปนเปื้อนในเครื่องสำอาง และห้องปฏิบัติการวัตถุอันตรายที่มีการตรวจวิเคราะห์ total cationic surfactant ในผลิตภัณฑ์ ทำความสะอาดฆ่าเชื้อโรค ระดับ 1 มีแผนปฏิบัติการแผนงานการให้บริการทดสอบความชำนาญการวิเคราะห์ด้านเครื่องสำอางและ วัตถุอันตราย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ ที่ได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าหน่วยงาน 2 ดำเนินกิจกรรมตามที่ระบุไว้ในแผนได้แล้วเสร็จครบถ้วน และจัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงาน ให้หัวหน้าหน่วยงานรับทราบ 3 ขยายการให้บริการทดสอบความชำนาญได้ 1 แผนงาน 4 ขยายการให้บริการทดสอบความชำนาญได้ 2 แผนงาน 5 - ส่งรายงานผลการทดสอบความชำนาญให้ห้องปฏิบัติสมาชิกได้ตามระยะเวลาที่กำหนด ร้อยละ 100 - มีผลการความพึงพอใจต่อการดำเนินแผนงานที่ขยายการให้บริการทั้ง 2 แผนงาน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85

23 สำนักเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนา ศึกษา วิจัย องค์ความรู้และนวัตกรรมด้านเครื่องสำอางและ วัตถุอันตราย ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จของการนำข้อมูลผลการวิเคราะห์ด้านเครื่องสำอางและด้านวัตถุ อันตรายที่แล้วเสร็จนำไปใช้ประโยชน์ในการกำหนดค่ามาตรฐาน/ข้อมูลอ้างอิง น้ำหนัก ร้อยละ คำอธิบาย : ระดับ 1 วิเคราะห์รวบรวมข้อมูลผลการวิเคราะห์ด้านเครื่องสำอาง เรื่อง การวิเคราะห์โลหะและจุลินทรีย์ปนเปื้อนในผลิตภัณฑ์เขียบขอบตาและสีแต่งขนตา และด้านวัตถุอันตราย เรื่อง การวิเคราะห์สารเคมีในผลิตภัณฑ์กาว เพื่อพิจารณาแนวโน้มความต้องการค่ามาตรฐาน/ข้อมูลอ้างอิง เพื่อใช้ในการสนับสนุนการคุ้มครองผู้บริโภค 2 - วางแผนปฏิบัติการ่วมกับผู้เกี่ยวข้องในการนำผลวิเคราะห์ไปกำหนดค่ามาตรฐาน/ข้อมูลอ้างอิง และจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2555 - แผนได้รับการอนุมัติจากหัวหน้าหน่วยงาน 3 ดำเนินการตามแผนได้แล้วเสร็จครบถ้วน โดยมีรายงานผลการดำเนินการตามที่กำหนดไว้ในแผน ฯ 4 ประเมินผลและสังเคราะห์ผลการดำเนินการในการจัดทำค่ามาตรฐาย/ข้อมูลอ้างอิง 5 จัดทำรายงานค่ามาตรฐาน/ข้อมูลอ้างอิงที่พร้อมนำไปใช้ประโยชน์ได้ 2 เรื่อง

24 สำนักเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย
ประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดที่ 2.5 ร้อยละของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือภาคประชาชนที่นำข้อมูลหรือองค์ความรู้ ที่ได้จากการวิเคราะห์ วิจัย การประเมินความเสี่ยง และแจ้งเตือนภัยสุขภาพ ไปใช้ประโยชน์ น้ำหนัก ร้อยละ คำอธิบาย : เปรียบเทียบจำนวนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือภาคประชาชนที่นำข้อมูลหรือองค์ความรู้ที่ได้ จากการวิเคราะห์ วิจัย การประเมินความเสี่ยง และแจ้งเตือนภัยสุขภาพไปใช้ประโยชน์ กับจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์ของโครงการ/งานวิจัย หรือข้อเสนอแนะ ในรายงานโครงการ/การวิจัย ระดับ 1 2 3 4 5 40 50 60 70 80 ตัวชี้วัดบังคับถ่ายทอดมาจากตัวชี้วัดกรม

25 สำนักเครื่องสำอางและวัตถุอันตราย
ประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดที่ 2.6 ร้อยละเฉลี่ยในการให้บริการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด น้ำหนัก ร้อยละ คำอธิบาย : พิจารณาจากร้อยละของตัวอย่าง/งานบริการที่ดำเนินการแล้วแสร็จตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ใน ประกาศกรม ฯ เรื่อง การกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของาน พ.ศ.2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และหรือระยะเวลาการให้บริการที่กำหนดตามประกาศของศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยเปรียบเทียบกับจำนวนตัวอย่างที่ดำเนินการแล้วเสร็จทั้งหมด ระดับ 1 2 3 4 5 50 60 70 80 90 สูตรการคำนวณ : จำนวนตัวอย่าง/งานบริการที่ดำเนินการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด X 100 จำนวนตัวอย่าง/งานบริการที่ดำเนินการแล้วเสร็จทั้งหมด เงื่อนไข : ให้หน่วยงานเก็บข้อมูลผลการดำเนินงานจริง 9 เดือน คือ ตั้งแต่ มค.-กย.2555 เพื่อใช้เป็นข้อมูลผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรอง ฯ โดยเก็บข้อมูลทุกตัวอย่าง

26 สำนักรังสีและเครื่องมือแพทย์
วิสัยทัศน์ มีความเป็นเลิศทางมาตรวิทยาด้านรังสีในระดับอาเซียน และเป็นผู้นำด้านห้องปฏิบัติการทดสอบ/สอบเทียบด้านรังสีและเครื่องมือแพทย์ในระดับประเทศ ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. เสริมสร้างและรักษามาตรฐานทางมาตรวิทยาด้านรังสี 2. พัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการอ้างอิงด้านรังสีและ เครื่องมือแพทย์ 3. พัฒนามาตรฐานวิธีการทดสอบ/สอบเทียบทางห้องปฏิบัติการ ด้านรังสีและเครื่องมือแพทย์ 4. ส่งเสริมศักยภาพห้องปฏิบัติการด้านรังสีและเครื่องมือแพทย์ ภาครัฐและเอกชน 5. พัฒนาระบบประเมินความเสี่ยงเพื่อแจ้งเตือนภัยด้านรังสีและ

27 สำนักรังสีและเครื่องมือแพทย์
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาระบบการประเมินความเสี่ยงเพื่อแจ้งเตือนภัยด้านรังสีและ เครื่องมือแพทย์ ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัยในโรงพยาบาลน้ำหนัก ร้อยละ 20 คำอธิบาย : การพัฒนาห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัยในโรงพยาบาลดำเนินการมาตั้งแต่ปีงบประมาณ โดยการฝึกอบรมให้ความรู้ตามมาตรฐาน WHO และออกไปตรวจติดตาม โรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการ มีโรงพยาบาลได้รับการอบรมให้ความรู้ประมาณ 500 แห่ง ปีงบประมาณ 2555 จะมีการตรวจติดตามและประเมินอย่างเป็นรูปแบบ โดยการแต่งตั้งผู้ตรวจ ประเมินจากสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลและศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ ในแต่ละพื้นที่เป็น คณะกรรมการตรวจประเมิน ในปี 2555 มีเป้าหมายที่จะพัฒนาห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัย จำนวน 200 แห่ง (ตามเอกสารงบประมาณ) ระดับ 1 แต่งตั้งคณะทำงานดำเนินงานพัฒนาห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัยในโรงพยาบาล จัดทำแผนการดำเนินการพัฒนาห้องปฏิบัติการรังสีวินิจฉัย 2 ดำเนินกิจกรรมได้ร้อยละ 50 ของกิจกรรมตามแผน 3 ดำเนินกิจกรรมได้ร้อยละ 100 ของกิจกรรมตามแผน 4 โรงพยาบาลได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์ที่กำหนดจำนวน 200 แห่ง 5 โรงพยาบาลได้รับการพัฒนาตามเกณฑ์ที่กำหนดจำนวน 220 แห่ง

28 สำนักรังสีและเครื่องมือแพทย์
ประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดที่ 2.2 ร้อยละของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือภาคประชาชนที่นำข้อมูลหรือองค์ความรู้ ที่ได้จากการวิเคราะห์ วิจัย การประเมินความเสี่ยง และแจ้งเตือนภัยสุขภาพ ไปใช้ประโยชน์ น้ำหนัก ร้อยละ 10 คำอธิบาย : เปรียบเทียบจำนวนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือภาคประชาชนที่นำข้อมูลหรือองค์ความรู้ที่ได้ จากการวิเคราะห์ วิจัย การประเมินความเสี่ยง และแจ้งเตือนภัยสุขภาพไปใช้ประโยชน์ กับจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์ของโครงการ/งานวิจัย หรือข้อเสนอแนะ ในรายงานโครงการ/การวิจัย ระดับ 1 2 3 4 5 40 50 60 70 80 ตัวชี้วัดบังคับถ่ายทอดมาจากตัวชี้วัดกรม

29 สำนักรังสีและเครื่องมือแพทย์
ประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดที่ 2.3 ร้อยละเฉลี่ยในการให้บริการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด น้ำหนัก ร้อยละ 10 คำอธิบาย : พิจารณาจากร้อยละของตัวอย่าง/งานบริการที่ดำเนินการแล้วแสร็จตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ใน ประกาศกรม ฯ เรื่อง การกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของาน พ.ศ.2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และหรือระยะเวลาการให้บริการที่กำหนดตามประกาศของศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยเปรียบเทียบกับจำนวนตัวอย่างที่ดำเนินการแล้วเสร็จทั้งหมด ระดับ 1 2 3 4 5 50 60 70 80 90 สูตรการคำนวณ : จำนวนตัวอย่าง/งานบริการที่ดำเนินการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด X 100 จำนวนตัวอย่าง/งานบริการที่ดำเนินการแล้วเสร็จทั้งหมด เงื่อนไข : ให้หน่วยงานเก็บข้อมูลผลการดำเนินงานจริง 9 เดือน คือ ตั้งแต่ มค.-กย.2555 เพื่อใช้เป็นข้อมูลผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรอง ฯ โดยเก็บข้อมูลทุกตัวอย่าง

30 สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร
วิสัยทัศน์ เป็นห้องปฏิบัติการอ้างอิงของประเทศด้านการตรวจวิเคราะห์คุณภาพและความปลอดภัยอาหาร ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. พัฒนาและรักษาระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการด้านอาหาร 2. วิจัย วิเคราะห์ ประเมินความเสี่ยงและแจ้งเตือนภัย ด้านอาหาร 3. ถ่ายทอดเทคโนโลยีการตรวจวิเคราะห์และสนับสนุน ด้านวิชาการ

31 สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาและรักษาระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการด้านอาหาร ตัวชี้วัดที่ ร้อยละเฉลี่ยของความสำเร็จในการพัฒนาห้องปฏิบัติการเพื่อให้ได้รับการรับรอง ตามมาตรฐานสากล น้ำหนัก ร้อยละ 10 คำอธิบาย : หมายถึง ร้อยละจำนวนของห้องปฏิบัติการ/รายการทดสอบสะสมของหน่วยงานที่ได้รับการรับรอง ตามมาตรฐานสากล เทียบกับจำนวนเป้าหมายรวมเมื่อสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ.2555 ของ แผนพัฒนาห้องปฏิบัติการของหน่วยงาน ปี ที่กำหนดเป้าหมาย หน่วยงานจะต้อง ได้รับการรับรองร้อยละ 100 ของรายการทดสอบที่สำคัญ ระดับ 1 2 3 4 5 80 85 90 95 100 เงื่อนไข : 1. ให้หน่วยงานเผยแพร่แผนพัฒนาห้องปฏิบัติการประจำปี 2555 ที่ได้รับความเห็นชอบจาก หัวหน้าหน่วยงานในเว็บไซด์ ภายในวันที่ 31 มีค.2555 2. หน่วยงานต้องได้รับการตรวจประเมินเบื้องต้นครบทุกรายการที่ยื่นขอการรับรอง และสามารถ ดำเนินการแก้ไขข้อบกพร่องให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่หน่วยงานรับรองกำหนด แต่ต้องไม่เกินวันที่ 31 ตค จึงจะนำมานับเป็นปริมาณสะสมได้

32 สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาและรักษาระบบคุณภาพห้องปฏิบัติการด้านอาหาร ตัวชี้วัดที่ จำนวนแผนทดสอบความชำนาญตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ (PT Provider) สำหรับห้องปฏิบัติการทั้งภายในประเทศและระดับภุมิภาค น้ำหนัก ร้อยละ 10 คำอธิบาย : ระดับ 1 จัดทำแผนทดสอบความชำนาญการวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2555 ได้ 3 แผน (schemes) 2 จัดทำแผนทดสอบชำนาญการวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ ได้ 5 แผน (schemes) 3 จัดทำแผนทดสอบชำนาญการวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ ได้ 6 แผน (schemes) 4 จัดทำแผนทดสอบชำนาญการวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ ได้ 7 แผน (schemes) 5 - ส่งรายงานผลการทดสอบความชำนาญให้ห้องปฏิบัติสมาชิกได้ตามระยะเวลาที่กำหนด ร้อยละ 100 - มีผลการความพึงพอใจต่อการดำเนินแผนงานที่ขยายการให้บริการทั้ง 7 แผนงาน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85

33 สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร
ประเด็นยุทธศาสตร์ วิจัย วิเคราะห์ ประเมินความเสี่ยงและแจ้งเตือนภัยด้านอาหาร ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จในการสำรวจปริมาณการบริโภคอาหาร เพื่อประกอบการวิจัย โครงการประเมินความเสี่ยงของคนไทยจากการได้รับสัมผัสโลหะหนักจากอาหาร น้ำหนัก ร้อยละ 5 คำอธิบาย : ระดับ 1 ศึกษากระบวนการบ่งชี้ความเป็นอันตราย (hazard identification) ของโลหะหนัก 1 ชนิด 2 ประเมินการตอบสนองต่อปริมาณ (dose-response assessment) ของโลหะหนัก 1 ชนิด 3 จัดทำโปรแกรมสำหรับบันทึกข้อมูลปริมาณโลหะหนักในอาหารที่เก็บจากครัวเรือน และข้อมูลการได้รับสัมผัสโลหะหนัก 1 ชนิด 4 ได้ข้อมูลปริมาณโลหะหนัก 1 ชนิด ในอาหารครบ 4 ภาค 5 ประเมินความเสี่ยงของคนไทยจากการได้รับสัมผัสโลหะหนัก 1 ชนิดจากอาหารครบ 4 ขั้นตอน เป็นตัวชี้วัดต่อเนื่องจากปีที่แล้ว

34 สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร
ประเด็นยุทธศาสตร์ วิจัย วิเคราะห์ ประเมินความเสี่ยงและแจ้งเตือนภัยด้านอาหาร ตัวชี้วัดที่ 2.4 ร้อยละของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือภาคประชาชนที่นำข้อมูลหรือองค์ความรู้ ที่ได้จากการวิเคราะห์ วิจัย การประเมินความเสี่ยง และแจ้งเตือนภัยสุขภาพ ไปใช้ประโยชน์ น้ำหนัก ร้อยละ 10 คำอธิบาย : เปรียบเทียบจำนวนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือภาคประชาชนที่นำข้อมูลหรือองค์ความรู้ที่ได้ จากการวิเคราะห์ วิจัย การประเมินความเสี่ยง และแจ้งเตือนภัยสุขภาพไปใช้ประโยชน์ กับจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์ของโครงการ/งานวิจัย หรือข้อเสนอแนะ ในรายงานโครงการ/การวิจัย ระดับ 1 2 3 4 5 40 50 60 70 80 ตัวชี้วัดบังคับถ่ายทอดมาจากตัวชี้วัดกรม

35 สำนักคุณภาพและความปลอดภัยอาหาร
ประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดที่ 2.5 ร้อยละเฉลี่ยในการให้บริการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด น้ำหนัก ร้อยละ 5 คำอธิบาย : พิจารณาจากร้อยละของตัวอย่าง/งานบริการที่ดำเนินการแล้วแสร็จตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ใน ประกาศกรม ฯ เรื่อง การกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของาน พ.ศ.2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และหรือระยะเวลาการให้บริการที่กำหนดตามประกาศของศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยเปรียบเทียบกับจำนวนตัวอย่างที่ดำเนินการแล้วเสร็จทั้งหมด ระดับ 1 2 3 4 5 50 60 70 80 90 สูตรการคำนวณ : จำนวนตัวอย่าง/งานบริการที่ดำเนินการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด X 100 จำนวนตัวอย่าง/งานบริการที่ดำเนินการแล้วเสร็จทั้งหมด เงื่อนไข : ให้หน่วยงานเก็บข้อมูลผลการดำเนินงานจริง 9 เดือน คือ ตั้งแต่ มค.-กย.2555 เพื่อใช้เป็นข้อมูลผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรอง ฯ โดยเก็บข้อมูลทุกตัวอย่าง

36 สำนักยาและวัตถุเสพติด
วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรระดับแนวหน้าด้านการตรวจวิเคราะห์ยา และวัตถุเสพติดของภูมิภาคอาเซียน ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. การพัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการอ้างอิงด้านยา และวัตถุเสพติด 2. การวิจัย วิเคราะห์ ประเมินความเสี่ยง แจ้งเตือนภัย 3. การแก้ไขปัญหายาเสพติด

37 สำนักยาและวัตถุเสพติด
ประเด็นยุทธศาสตร์ การพัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการอ้างอิงด้านยาและวัตถุเสพติด ตัวชี้วัดที่ 2.1 ร้อยละเฉลี่ยของความสำเร็จในการพัฒนาห้องปฏิบัติการเพื่อให้ได้รับการรับรอง ตามมาตรฐานสากล น้ำหนัก ร้อยละ 10 คำอธิบาย หมายถึง ร้อยละจำนวนวิธีการทดสอบสะสมของหน่วยงานที่ได้รับการรับรอง ตามมาตรฐานสากล เทียบกับจำนวนเป้าหมายรวมเมื่อสิ้นปีงบประมาณ พ.ศ.2555 ของ แผนพัฒนาห้องปฏิบัติการของหน่วยงาน ปี ที่กำหนดเป้าหมาย หน่วยงานจะต้อง ได้รับการรับรองร้อยละ 100 ของรายการทดสอบที่สำคัญ ระดับ 1 2 3 4 5 80 85 90 95 100 เงื่อนไข : 1. ให้หน่วยงานเผยแพร่แผนพัฒนาห้องปฏิบัติการประจำปี 2555 ที่ได้รับความเห็นชอบจาก หัวหน้าหน่วยงานในเว็บไซด์ ภายในวันที่ 31 มีค.2555 2. หน่วยงานต้องได้รับการตรวจประเมินเบื้องต้นครบทุกรายการที่ยื่นขอการรับรอง และสามารถ ดำเนินการแก้ไขข้อบกพร่องให้แล้วเสร็จภายในระยะเวลาที่หน่วยงานรับรองกำหนด แต่ต้องไม่เกินวันที่ 31 ตค จึงจะนำมานับเป็นปริมาณสะสมได้

38 สำนักยาและวัตถุเสพติด
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการอ้างอิงด้านยาและวัตถุเสพติด ตัวชี้วัดที่ 2.2 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาห้องปฏิบัติการอ้างอิง สยวส. เพื่อขอรับการรับรอง จากองค์การอนามัยโลก (WHO Pre-Qualification for Quality Control Lab.) น้ำหนัก ร้อยละ 10 คำอธิบาย ดำเนินการต่อเนื่องจาก ปี 54 ซึ่ง สยวส.ได้รับการตรวจติดตามเบื้องต้นจาก WHO จึงดำเนินการ แก้ไขข้อบกพร่องและพัฒนาห้องปฏิบัติการอ้างอิง เพื่อขอรับรองด้านการควบคุมคุณภาพยา ระดับ 1 ทบทวนระบบบริหารจัดการคุณภาพห้องปฏิบัติการให้เป็นปัจจุบัน 2 สยวส. ทำการตรวจติดตามภายใน (Internal audit) 3 ผู้เชี่ยวชาญจากองค์การอนามัยโลกตรวจประเมินห้องปฏิบัติการของ สยวส. 4 สยวส. แก้ไขข้อบกพร่องทางเทคนิคได้แล้วเสร็จ 5 ได้รับการรับรองความสามารถจากองค์การอนามัยโลก

39 สำนักยาและวัตถุเสพติด
ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาศักยภาพห้องปฏิบัติการอ้างอิงด้านยาและวัตถุเสพติด ตัวชี้วัดที่ 2.3 ระดับความสำเร็จในการให้บริการทดสอบความชำนาญด้านยา น้ำหนัก ร้อยละ 5 คำอธิบาย การทดสอบความชำนาญเป็นองค์ประกอบสำคัญของกระบวนการประเมินคุณภาพโดยองค์กร ภายนอกและเป็นหลักเกณฑ์หรือเงื่อนไขหนึ่งของการรับรองมาตรฐานห้องปฏิบัติการในระดับชาติ ระดับ 1 มีแผนปฏิบัติการให้บริการทดสอบความชำนาญด้านยา พ.ศ.2555 และแผนได้รับความเห็นชอบจากหัวหน้าหน่วยงาน 2 ดำเนินกิจกรรมตามแผนได้แล้วเสร็จครบถ้วน และมีรายงานผลการดำเนินงาน รอบ 6, 9 และ 12 เดือน ต่อหัวหน้าหน่วยงาน 3 ขยายการให้บริการทดสอบความชำนาญได้ 1 แผนงาน 4 ขยายการให้บริการทดสอบความชำนาญได้ 2 แผนงาน 5 - ส่งรายงานผลการทดสอบความชำนาญให้ห้องปฏิบัติสมาชิได้ตามระยะเวลาที่กำหนด ร้อยละ 100 - มีผลการความพึงพอใจต่อการดำเนินแผนงานที่ขยายการให้บริการทั้ง 2 แผนงาน ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 85

40 สำนักยาและวัตถุเสพติด
ประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดที่ 2.4 ร้อยละของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือภาคประชาชนที่นำข้อมูลหรือองค์ความรู้ ที่ได้จากการวิเคราะห์ วิจัย การประเมินความเสี่ยง และแจ้งเตือนภัยสุขภาพ ไปใช้ประโยชน์ น้ำหนัก ร้อยละ 10 คำอธิบาย : เปรียบเทียบจำนวนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือภาคประชาชนที่นำข้อมูลหรือองค์ความรู้ที่ได้ จากการวิเคราะห์ วิจัย การประเมินความเสี่ยง และแจ้งเตือนภัยสุขภาพไปใช้ประโยชน์ กับจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์ของโครงการ/งานวิจัย หรือข้อเสนอแนะ ในรายงานโครงการ/การวิจัย ระดับ 1 2 3 4 5 40 50 60 70 80 ตัวชี้วัดบังคับถ่ายทอดมาจากตัวชี้วัดกรม

41 สำนักยาและวัตถุเสพติด
ประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดที่ 2.5 ร้อยละเฉลี่ยในการให้บริการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด น้ำหนัก ร้อยละ 5 คำอธิบาย : พิจารณาจากร้อยละของตัวอย่าง/งานบริการที่ดำเนินการแล้วแสร็จตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ใน ประกาศกรม ฯ เรื่อง การกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของาน พ.ศ.2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และหรือระยะเวลาการให้บริการที่กำหนดตามประกาศของศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยเปรียบเทียบกับจำนวนตัวอย่างที่ดำเนินการแล้วเสร็จทั้งหมด ระดับ 1 2 3 4 5 50 60 70 80 90 สูตรการคำนวณ : จำนวนตัวอย่าง/งานบริการที่ดำเนินการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด X 100 จำนวนตัวอย่าง/งานบริการที่ดำเนินการแล้วเสร็จทั้งหมด เงื่อนไข : ให้หน่วยงานเก็บข้อมูลผลการดำเนินงานจริง 9 เดือน คือ ตั้งแต่ มค.-กย.2555 เพื่อใช้เป็นข้อมูลผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรอง ฯ โดยเก็บข้อมูลทุกตัวอย่าง

42 สถาบันชีววัตถุ วิสัยทัศน์ เป็นผู้นำด้านการควบคุมคุณภาพชีววัตถุ
ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. ประกันคุณภาพและประเมินความเสี่ยงและกำหนด มาตรฐานการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการของ วัคซีน ชีววัตถุ เพื่อการรักษาและชุดตรวจวินิจฉัย โรคที่ติดต่อทางเลือด 2. พัฒนาห้องปฏิบัติการอ้างอิงด้านการประกันคุณภาพ วัคซีน ชีววัตถุ เพื่อรักษาและชุดตรวจวินิจฉัยโรคที่ติดต่อ เลือด 3. ศึกษา วิจัย เพื่อพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยี ด้านวัคซีน ชีววัตถุ เพื่อการรักษาและชุดตรวจวินิจฉัย

43 สถาบันชีววัตถุ ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาห้องปฏิบัติการอ้างอิงด้านการประกันคุณภาพวัคซีน ชีววัตถุ เพื่อการรักษาและชุดตรวจวินิจฉัยโรคติดต่อทางเลือด ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบคุณภาพในการจัดเตรียมวัคซีนมาตรฐาน ของภูมิภาค น้ำหนัก ร้อยละ คำอธิบาย : ความสำเร็จของการศึกษาหาความรู้ของข้อกำหนด ISO Guide 34 เพื่อเปรียบเทียบความ แตกต่างกับข้อกำหนดของระบบคุณภาพ ISO/IEC17025 และกำหนดนดรายการเอกสาร ในระบบคุณภาพที่ต้องจัดทำเพิ่มเติม ฯ ระดับ 1 ศึกษาข้อกำหนดของ ISO Guide 34 เปรียบเทียบกับระบบ ISO/IEC 17025 2 จัดทำรายการเอกสารคุณภาพที่ต้องจัดทำเพิ่มเติม 3 ดำเนินการจัดทำเอกสารคุณภาพ 4 ร้อยละ 80 ของเอกสารคุณภาพได้รับการอนุมัติใช้ 5 ร้อยละ 100 ของเอกสารคุณภาพได้รับการอนุมัติใช้

44 สถาบันชีววัตถุ ประเด็นยุทธศาสตร์ ศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านวัคซีน ชีววัตถุ เพื่อการรักษาและชุดตรวจวินิจฉัยโรคติดต่อทางเลือด ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จของการจัดทำแนวทางการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ เซลล์ต้นกำเนิด น้ำหนัก ร้อยละ คำอธิบาย : ระดับ 1 ทบทวนรายการความรู้ที่ต้องการใช้ในการจัดทำคู่มือแนวทางการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์เซลล์ต้นกำเนิด 2 รวบรวมเนื้อหาจากการสืบค้นทางเวบไซด์ ติดต่อประสานความรู้กับผู้เชี่ยวชาญในองค์การต่างประเทศ และการสัมมนาระหว่างผู้ที่เกี่ยวข้องในประเทศทั้งมหาวิทยาลัย โรงพยาบาล และหน่วยงานเอกเชน ที่มีการใช้เซลล์ต้นกำเนิดในการวิจัยและรักษาโรค 3 ได้ร่างแนวทางการตรวจวิเคราะห์คุณภาพผลิตภัณฑ์เซลล์ต้นกำเนิดทางห้องปฏิบัติการ 4 จัดทำแนวทางการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์เซลล์ต้นกำเนิด 5 เผยแพร่แนวทางการควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์เซลล์ต้นกำเนิดให้ผู้เกี่ยวข้องทั้งภายในและภายนอกสถาบัน

45 สถาบันชีววัตถุ ประเด็นยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดที่ 2.3 ร้อยละของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือภาคประชาชนที่นำข้อมูลหรือองค์ความรู้ ที่ได้จากการวิเคราะห์ วิจัย การประเมินความเสี่ยง และแจ้งเตือนภัยสุขภาพ ไปใช้ประโยชน์ น้ำหนัก ร้อยละ คำอธิบาย : เปรียบเทียบจำนวนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องหรือภาคประชาชนที่นำข้อมูลหรือองค์ความรู้ที่ได้ จากการวิเคราะห์ วิจัย การประเมินความเสี่ยง และแจ้งเตือนภัยสุขภาพไปใช้ประโยชน์ กับจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ระบุไว้ในวัตถุประสงค์ของโครงการ/งานวิจัย หรือข้อเสนอแนะ ในรายงานโครงการ/การวิจัย ระดับ 1 2 3 4 5 40 50 60 70 80 ตัวชี้วัดบังคับถ่ายทอดมาจากตัวชี้วัดกรม

46 สถาบันชีววัตถุ ประเด็นยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดที่ 2.4 ร้อยละเฉลี่ยในการให้บริการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด น้ำหนัก ร้อยละ คำอธิบาย : พิจารณาจากร้อยละของตัวอย่าง/งานบริการที่ดำเนินการแล้วแสร็จตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ใน ประกาศกรม ฯ เรื่อง การกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของาน พ.ศ.2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และหรือระยะเวลาการให้บริการที่กำหนดตามประกาศของศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยเปรียบเทียบกับจำนวนตัวอย่างที่ดำเนินการแล้วเสร็จทั้งหมด ระดับ 1 2 3 4 5 50 60 70 80 90 สูตรการคำนวณ : จำนวนตัวอย่าง/งานบริการที่ดำเนินการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด X 100 จำนวนตัวอย่าง/งานบริการที่ดำเนินการแล้วเสร็จทั้งหมด เงื่อนไข : ให้หน่วยงานเก็บข้อมูลผลการดำเนินงานจริง 9 เดือน คือ ตั้งแต่ มค.-กย.2555 เพื่อใช้เป็นข้อมูลผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรอง ฯ โดยเก็บข้อมูลทุกตัวอย่าง

47 สำนักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ
วิสัยทัศน์ เป็นองค์กรนำการพัฒนาและรับรองงานห้องปฏิบัติการ ด้านการแพทย์และสาธารณสุข ในระดับสากลภายในปี 2558 ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาและรับรองคุณภาพห้องปฏิบัติการ

48 สำนักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาและรับรองห้องปฏิบัติการ ตัวชี้วัดที่ ร้อยละของห้องปฏิบัติการด้านการแพทย์และสาธารณสุขได้รับการ รับรองตามมาตรฐานสากล น้ำหนัก ร้อยละ คำอธิบาย : ดำเนินการตามกระบวนการรับรองตั้งแต่การยื่นคำขอ การตรวจเอกสารครบถ้วนตามข้อกำหนด ตรวจประเมินเบื้องต้น ตรวจประเมินจริง การแก้ไขข้อบกพร่องของห้องปฏิบัติการตามเวลาที่ กำหนด การพิจารณาให้การรับรอง แจ้งผล และออกใบรับรอง ภายใน 30 กย.2555 ระดับ 1 มีแผนปฏิบัติการที่ได้รับความเห็นชอบจากผู้อำนวยการ 2 ร้อยละ 50 ของห้องปฏิบัติการที่ขอรับการรับรองใหม่ ได้รับการตรวจประเมิน 3 - ร้อยละ 50 ของห้องปฏิบัติการที่ขอรับการรับรองใหม่ ได้รับการรับรอง - ร้อยละ 60 ของห้องปฏิบัติการที่ขอการรับรองใหม่ ได้รับการตรวจประเมิน 4 - ร้อยละ 60 ของห้องปฏิบัติการที่ขอรับการรับรองใหม่ ได้รับการรับรอง - ร้อยละ 70 ของห้องปฏิบัติการที่ขอการรับรองใหม่ ได้รับการตรวจประเมิน 5 - ร้อยละ 70 ของห้องปฏิบัติการที่ขอรับการรับรองใหม่ ได้รับการรับรอง - ร้อยละ 80 ของห้องปฏิบัติการที่ขอการรับรองใหม่ ได้รับการตรวจประเมิน เงื่อนไข : จำนวนห้องปฏิบัติการที่ยื่นของการรับรองให้นับเฉพาะจำนวนห้องปฏิบัติการที่ส่งเอกสารครบถ้วน ภายในวันที่ 30 มิย.2555 และไม่นับรวมห้องปฏิบัติการที่ไม่สามารถแก้ไขข้อบกพร่องได้แล้วเสร็จ ตามระยะเวลาที่กำหนด

49 สำนักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ
ประเด็นยุทธศาสตร์ พัฒนาและรับรองห้องปฏิบัติการ ตัวชี้วัดที่ ร้อยละของห้องปฏิบัติการสมาชิกโครงการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ได้รับการพัฒนาฟื้นฟูความรู้การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ด้านชันสูตร สาธารณสุข น้ำหนัก ร้อยละ คำอธิบาย : ระดับ 1 จัดทำแผนโครงการพัฒนาฟื้นฟูความรู้การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ และแผนได้รับการอนุมัติจากผู้อำนวยการ 2 - ประชาสัมพันธืแจ้งโครงการพัฒนาฟื้นฟูความรู้การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ ให้สมาชิกทราบและตอบรับการเข้าร่วมโครงการ - รวบรวมรายชื่อสมาชิกการประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ที่สมัครเข้าร่วมสัมมนา 3 - ร้อยละ 60 ของสมาชิกได้รับการพัฒนาฟื้นฟูความรู้การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ - มากกว่าร้อยละ 60 ของผู้ได้รับการพัฒนามีความพึงพอใจต่อการจัดสัมมนา 4 - ร้อยละ 70 ของสมาชิกได้รับการพัฒนาฟื้นฟูความรู้การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ - มากกว่าร้อยละ 70 ของผู้ได้รับการพัฒนามีความพึงพอใจต่อการจัดสัมมนา 5 - ร้อยละ 80 ของสมาชิกได้รับการพัฒนาฟื้นฟูความรู้การประเมินคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ - มากกว่าร้อยละ 80 ของผู้ได้รับการพัฒนามีความพึงพอใจต่อการจัดสัมมนา

50 สำนักมาตรฐานห้องปฏิบัติการ
ประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดที่ 2.6 ร้อยละเฉลี่ยในการให้บริการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด น้ำหนัก ร้อยละ คำอธิบาย : พิจารณาจากร้อยละของตัวอย่าง/งานบริการที่ดำเนินการแล้วแสร็จตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ใน ประกาศกรม ฯ เรื่อง การกำหนดระยะเวลาแล้วเสร็จของาน พ.ศ.2548 และที่แก้ไขเพิ่มเติม และหรือระยะเวลาการให้บริการที่กำหนดตามประกาศของศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยเปรียบเทียบกับจำนวนตัวอย่างที่ดำเนินการแล้วเสร็จทั้งหมด ระดับ 1 2 3 4 5 50 60 70 80 90 สูตรการคำนวณ : จำนวนตัวอย่าง/งานบริการที่ดำเนินการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด X 100 จำนวนตัวอย่าง/งานบริการที่ดำเนินการแล้วเสร็จทั้งหมด เงื่อนไข : ให้หน่วยงานเก็บข้อมูลผลการดำเนินงานจริง 9 เดือน คือ ตั้งแต่ มค.-กย.2555 เพื่อใช้เป็นข้อมูลผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรอง ฯ โดยเก็บข้อมูลทุกตัวอย่าง

51 สำนักกำกับ พรบ.เชื้อโรคและพิษจากสัตว์
ประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดที่ 2.1 ร้อยละของหน่วยงานภาครัฐตามกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้องตาม พรบ.เชื้อโรคและ พิษจากสัตว์ พ.ศ.2525 และ (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2544 ที่ได้ขึ้นทะเบียนจดแจ้ง การผลิต ครอบครอง จำหน่าย นำเข้า ส่งออก หรือนำผ่าน ซึ่งเชื้อโรคและ พิษจากสัตว์ น้ำหนัก ร้อยละ 40 คำอธิบาย : หน่วยงานภาครัฐที่มีการผลิต ครอบครอง จำหน่าย นำเข้า ส่งออก หรือนำผ่านซึ่งเชื้อโรค และพิษจากสัตว์ ต้องจัดทำรายงานในแบบบันทึกที่กำหนดให้ คือ แบบ จจช.1 โดยระบุ ชนิด และปริมาณเชื้อที่มีการดำเนินกิจการในหน่วยงานนั้น ๆ และจัดส่งขึ้นทะเบียน เป็นประจำตามกำหนดเวลา ที่สำนัก พรบ.เชื้อโรคและพิษจากสัตว์ ระดับ 1 2 3 4 5 40 45 50 55 60 เป็นตัวชี้วัดกรม

52 ศูนย์ปฏิบัติการตรวจคัดกรองสุขภาพทารกแรกเกิด
ประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดที่ 2.1 ร้อยละของความครอบคลุมของทารกแรกเกิดในประเทศไทยที่ได้รับการ ตรวจคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด น้ำหนัก ร้อยละ 20 คำอธิบาย : การตรวจคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนในทารกแรกเกิด เป็นการตรวจวิเคราะห์ไทรอยด์ สติมูลเลติ้งฮอร์โมน (TSH) จากตัวอย่างกระดาษซับเลือดแห้งที่เก็บจากทารกแรกเกิด ในสถานบริการต่าง ๆ ทั่วประเทศ ระดับ 1 2 3 4 5 86 88 90 92 94

53 ศูนย์ปฏิบัติการตรวจคัดกรองสุขภาพทารกแรกเกิด
ประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดที่ ร้อยละของการติดตามทารกแรกเกิดที่ผิดปกติเบื้องต้นมาตรวจยืนยัน ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมน น้ำหนัก ร้อยละ 20 คำอธิบาย : การตรวจคัดกรองภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนในทารกแรกเกิด เป็นการตรวจวิเคราะห์ไทรอยด์ สติมูลเลติ้งฮอร์โมน (TSH) จากตัวอย่างกระดาษซับเลือดแห้งที่เก็บจากทารกแรกเกิด ในสถานบริการต่าง ๆ ทั่วประเทศ เมื่อพบทารกแรกเกิดผิดปกติในเบื้องต้น ที่มีค่า TSH เท่ากับ หรือมากกว่า25 มิลลิยูนิตต่อลิตร จะต้องติดตามเด็กให้มาเจาะเลือดตรวจหา TSH ในซีรั่ม อีกครั้งเพื่อเป็นการยืนยัน ระดับ 1 2 3 4 5 81 83 85 87 89

54 ศูนย์ประเมินความเสี่ยง
ประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาและการใช้งานระบบฐานข้อมูลประเมิน ความเสี่ยงและแจ้งเตือนภัย น้ำหนัก ร้อยละ 40 คำอธิบาย : การพัฒนาและการใช้งานฐานข้อมูลสำหรับการดำเนินการด้านการประเมินและสื่อสาร ความเสี่ยงด้านสุขภาพของกรม เพื่อเป็นจุดศูนย์รวมข้อมูลและบริการข้อมูลแก่หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้อง เป็นช่องทางเผยแพร่ สื่อสารผลการประเมินความเสี่ยงอย่างเป็นระบบ ตรงกลุ่มเป้าหมาย และใช้เป็นเครื่องมือในการติดตามความสนใจ การนำผลการแจ้งเตือนภัย ของกรม ฯ ไปใช้ดูแลป้องกันสุขภาพตนเองของปรชาชน ระดับ 1 - มีบุคลากรมาดำเนินการพัฒนาและปรับปรุงฐานข้อมูล - มีข้อมูลด้านการประเมินความเสี่ยงของกรมจากการประสานงาน - นักวิทยาศาสตร์การแพทย์มีการเข้ามาใช้งานระบบฐานข้อมูล 2 - มีการจัดประชุมประสานงานกับหน่วยงานและภาคีองค์กรเครือข่าย - มีประเด็นประเมินความเสี่ยงสำหรับสื่อสารในองค์กร เพื่อพัฒนาโจทย์ประเมินความเสี่ยง 3 - ฐานข้อมูลได้รับการปรับปรุงอย่างสม่ำเสมอและต่อเนื่อง - มีการรายงานการลงข้อมูลแผนและผลออนไลน์ - จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การสื่อสารความเสี่ยงสำหรับนักวิทยาศาสตร์การแพทย์ 2 ครั้ง 4 - เผยแพร่ข้อมูลแจ้งเตือนภัยให้ผู้ใช้งานนำไปใช้ประโยชน์ได้ - จัดประชุมและเผยแพร่ผลการประเมินความเสี่ยง และการวิเคราะห์เพื่อแจ้งเตือนภัยแก่กลุ่มเป้าหมาย 5 ผู้ใช้งานระบบฐานข้อมูลมีความพึงพอใจ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80

55 กลุ่มภารกิจสนับสนุน จำนวน 8 หน่วยงาน ได้แก่ สำนักวิชาการ ฯ
จำนวน หน่วยงาน ได้แก่ สำนักวิชาการ ฯ กลุ่มตรวจสอบภายใน กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานเลขานุการกรม กองแผนงานและวิชาการ ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ ศูนย์รวมบริการ ศูนย์ชุดทดสอบและผลิตภัณฑ์

56 สำนักวิชาการวิทยาศาสตร์การแพทย์
ประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดที่ ความสำเร็จของการสร้างองค์ความรู้และแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ น้ำหนัก ร้อยละ 40 คำอธิบาย : ระดับ 1 สามารถสร้างองค์ความรู้ ได้จำนวน 4 องค์ความรู้ 2 สามารถสร้างองค์ความรู้ ได้จำนวน 6 องค์ความรู้ 3 สามารถสร้างองค์ความรู้ ได้จำนวน 8 องค์ความรู้ 4 มีการเผยแพร่/ถ่ายทอด/แบ่งปันแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานของบุคลากรภายในกรม จำนวน 4 องค์ความรู้ 5 มีการเผยแพร่/ถ่ายทอด/แบ่งปันแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงานของบุคลากรภายในกรม จำนวน 6 องค์ความรู้ ตัวชี้วัดเดียวกับปี 2554

57 กลุ่มตรวจสอบภายใน ประเด็นยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จของการตรวจสอบภายใน น้ำหนัก ร้อยละ 40 คำอธิบาย : ระดับ 1 จัดทำแผนการตรวจสอบตามผลการประเมินความเสี่ยงของกิจกรรม/หน่วยงาน และเสนอหัวหน้าส่วนราชการอนุมัติ โดยมีเรื่องตรวจสอบอย่างน้อย ประกอบด้วย การตรวจสอบทางการเงิน การตรวจสอบการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อบังคับ การตรวจสอบการดำเนินงาน 1 เรื่อง 2 จัดทำรายงานผลการตรวจสอบครบถ้วนตามทึ่กำหนดในแผนการตรวจสอบและเสนอหัวหน้า ส่วนราชการพิจารณาให้ความเห็นชอบ หรือสั่งการให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องปฏิบัติตามข้อเสนอแนะที่มีในรายงาน 3 มีการรายงานผลการตรวจสอบการปฏิบัติงานหรือการตรวจสอบการดำเนินงานโดยวิเคราะห์ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการปฏิบัติงานหรือการดำเนินงาน รวมทั้งมีการแสดงความคิดเห็นหรือข้อเสนอแนะให้แก่ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานของหน่วยงาน 4 จัดทำรายงานประจำปีเผยแพร่ให้แก่ผู้บริหาร/หน่วยรับตรวจ โดยในรายงาน มีหัวข้อดังนี้ 1. แผนการตรวจสอบประจำปี 2. ผลการตรวจสอบโดยย่อ 3. ข้อสังเกต/ข้อเสนอแนะ 4. ข้อผิดพลาดที่พบบ่อย 5 ตัวชี้วัดเดียวกับปี 2554

58 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จของการบริหารจัดการการพัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐ น้ำหนัก ร้อยละ 20 คำอธิบาย : เพื่อให้กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์มีการปรับปรุงระบบบริหารจัดการให้ได้มาตรฐาน และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ระดับ 1 วิเคราะห์ ทบทวนผลการดำเนินงานการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของกรม ในปีที่ผ่านมา และกำหนดแนวทางการดำเนินงานในปีงบประมาณ พ.ศ.2555 2 จัดทำแผนการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐของกรม ปีงบประมาณ พ.ศ.2555 ได้แล้วเสร็จ และได้รับความเห็นชอบจากผู้บริหาร 3 มีการติดตามความก้าวหน้าผลการดำเนินงาน และรายงานให้ผู้บริหารรับทราบอย่างสม่ำเสมอ (รอบ 6, 9, 12 เดือน) 4 - จัดทำลักษณะสำคัญขององค์กร และประเมินองค์กรด้วยตนเองตามเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐระดับพื้นฐานได้แล้วเสร็จครบถ้วน 5 จัดทำรายงานผลการดำเนินงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2555 ของกรม พร้อมระบุปัญหาอุปสรรค ปัจจัยสนับสนุน และข้อเสนอแนะเชิงพัฒนาสำหรับการดำเนินงานในปีต่อไป เสนอผู้บริหารรับทราบ ภายในวันที่ 31 ตุลาคม 2555

59 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร
ประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดที่ 2.2 ระดับความสำเร็จของการสนับสนุนส่งเสริมค่านิยมกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ เพื่อพัฒนาสู่การเป็นวัฒนธรรมองค์การของกรม น้ำหนัก ร้อยละ 20 คำอธิบาย : การสนับสนุนและส่งเสริมให้เจ้าหน้าที่ในหน่วยงานมีการนำค่านิยมของกรมไปปฏิบัติ เพื่อพัฒนาให้เกิดเป็นวัฒนธรรมองค์การในระยะต่อไป ระดับ 1 แต่งตั้งคณะทำงานสนับสนุน ส่งเสริม การสร้างวัฒนธรรมองค์การของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 2 - จัดทำแผนดำเนินการสนับสนุน ส่งเสริม เพื่อสร้างวัฒนธรรมองค์การของกรม ประจำปี งบประมาณ พ.ศ และแผนได้รับการอนุมัติจากผู้บริหาร - สื่อสารแผนให้ผู้เกี่ยวข้องได้รับทราบ 3 - ดำเนินกิจกรรมตามที่ระบุไว้ในแผนได้แล้วเสร็จครบถ้วน - มีการกำหนดพฤติกรรมการปฏิบัติ จากค่านิยมกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 4 - สื่อสารพฤติกรรมให้เจ้าหน้าที่ของกรมได้รับทราบอย่างทั่วถึง - มีกิจกรรมส่งเสริมการปฏิบัติตามค่านิยมของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 5 สรุปผลการดำเนินงานตามแผนรวมทั้งปัญหา/อุปสรรคให้ผู้บริหารได้รับทราบ พร้อมข้อเสนอแนะในการดำเนินงานในปีต่อไป

60 สำนักงานเลขานุการกรม
ประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรกรม น้ำหนัก ร้อยละ 20 คำอธิบาย : วัดจากคะแนนการประเมินผลการปฏิบัติงานที่สะท้อนจากผลการประเมินสมรรถนะหลัก ตามแนวทางของ ก.พ เรื่อง คือ การมุ่งผลสัมฤทธิ์ การบริการที่ดี การสั่งสมความ เชี่ยวชาญในอาชีพ การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรมและจริยธรรม และการทำงานเป็นทีม ระดับ 1 จัดทำรายงานผลการประเมินสมรรถนะของบุคลากรในภาพรวมของกรม ครั้งที่ 1 (เมษายน – กันยายน 2554) ส่งไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. ภายในวันที่ 31 มกราคม 2555 2 จัดทำแผนพัฒนาสมรรถนะของบุคลากรกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ และแผน ฯ ได้รับความเห็นชอบจากผู้บริหาร 3 ถ่ายทอดแผน ฯ ไปสู่การปฏิบัติ และสื่อสารให้หน่วยงานและบุคลากรมีความรู้ความเข้าใจ และมีการประเมินสมรรถนะและพัฒนาบุคลากรเป็นรายบุคคล ตามแนวทางที่กำหนด 4 ติดตามความก้าวหน้าและผลการดำเนินงานตามแผน ฯ พร้อมสรุปผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ เสนอผู้บริหารรับทราบ 5 จัดทำรายงานผลการประเมินสมรรถนะของบุคลากรในภาพรวม ครั้งที่ 2 (เมษายน – กันยายน 2555) ส่งไปยังสำนักงาน ก.พ.ร. ภายในวันที่ 31 มกราคม 2556 หมายเหตุ ถ่ายทอดมาจากตัวชี้วัดที่ 10 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาสมรรถนะ ของบุคลากร ซึ่งเป็นตัวชี้วัดระดับกรม

61 สำนักงานเลขานุการกรม
ประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จของการควบคุมภายในของกรม น้ำหนัก ร้อยละ 10 คำอธิบาย : พิจารณาจากความสามารถในการจัดให้มีระบบการควบคุมภายในส่วนราชการตามระเบียบ คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน ว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 (ข้อ 6) และแนวทางการจัดวางระบบการควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน ของสำนักงานการตรวจเงินแผ่นดินที่ได้กำหนดเป็นแนวทางไว้ ระดับ 1 กรมมีกลไกการดำเนินการตามแผนการปรับปรุงระบบการควบคุมภายในของปีงบประมาณ พ.ศ.2554 และส่งรายงานผลการดำเนินงานตามแผนการปรับปรุงดังกล่าวให้ สตง. คตป. และ สป. กสธ. ภายในวันที่ 30 เมษายน 2555 2 กรมมีการประเมินผลการควบคุมภายในได้ตามแนวทาง : การจัดวางระบบการควบคุมภายในและการประเมินผลการควบคุมภายใน ของสำนักงานตรวจเงินแผ่นดิน (จัดส่งแบบฟอร์ม 1 ให้ สตง. คตป. และ สป.กสธ. ภายในวันที่ 28 ธันวาคม 2555) 3 กรมมีการวิเคราะห์จุดอ่อน/ความเสี่ยง ของระบบการควบคุมภายในของปีงบประมาณ พ.ศ ที่ยังคงปรากฏอยู่ในปีงบประมาณ พ.ศ.2555 (จัดส่งแบบฟอร์ม 2 ให้ สตง. คตป. และ สป.กสธ. ภายในวันที่ 28 ธันวาคม 2555) 4 กรมจัดทำรายงานเกี่ยวกับการควบคุมภายในตามระเบียบคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการกำหนดมาตรฐานการควบคุมภายใน พ.ศ.2544 (ข้อ 6) (จัดส่ง ปอ. 1 ให้ สตง. คตป. และ สป.กสธ. ภายในวันที่ 28 ธันวาคม 2555) 5 กรมดำเนินงานบรรลุวัตถุประสงค์ของการควบคุมภายในด้านประสิทธิผล โดยวัดผลจากการบรรลุเป้าหมายผลผลิตของส่วนราชการ (ตามเอกสารงบประมาณรายจ่าย)

62 สำนักงานเลขานุการกรม
ประเด็นยุทธศาสตร์ ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จของการจัดการเครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำรอง (Generator) เพื่อเตรียมความพร้อมรับภับพิบัติหรือภาวะฉุกเฉิน น้ำหนัก ร้อยละ 10 คำอธิบาย : ระดับ 1 - แต่งตั้งคณะทำงานจัดการเครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำรอง ในด้านความเสี่ยงอุทกภัยของ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ส่วนกลาง - ทบทวนวิเคราะห์ความเสี่ยงจากภัยพิบัติต่าง ๆ ที่จะส่งผลการทบต่อการทำงานของเครื่องกำเนิด ไฟฟ้าสำรอง (อุทกภัย ฝนตกหนัก ไฟฟ้าดับ และเหตุการณ์อื่น ๆ) - จัดทำแผนการจัดการเครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำรองเพื่อรองรับภัยพิบัติหรือภาวะฉุกเฉิน 2 - มีการสำรวจเครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำรองฉุกเฉิน ภายในที่ตั้งของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ส่วนกลางทั้งหมด - จัดทำแผนผังเครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำรองฉุกเฉินของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ส่วนกลางทั้งหมด พร้อมระบบการทำงานและผู้รับผิดชอบดูแลบำรุงรักษาเครื่อง 3 - จัดทำคู่มือ พร้อมผังงาน (Flowchart) ของการจัดการเครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำรองฉุกเฉิน กรณีเกิด ภัยพิบัติหรือภาวะฉุกเฉิน และคู่มือได้รับความเห็นชอบจากผู้บริหาร - สื่อสารและชี้แจงแนวทางขั้นตอนปฏิบัติงานตามคู่มือการจัดการเครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำรองฉุกเฉิน ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องรับทราบและนำไปปฏิบัติ 4 จัดให้มีกิจกรรมซักซ้อมความเข้าใจในการจัดการเครื่องกำเนิดไฟฟ้าสำรอง (จำลองเหตุการณ์) เพื่อเตรียมความพร้อมกรณีเกิดภัยพิบัติหรือภาวะฉุกเฉิน อย่างน้อย 1 ครั้ง 5 จัดทำรายงานสรุปผลการดำเนินงาน พร้อมข้อเสนอแนะ ให้ผู้บริหารรับทราบ

63 กองแผนงานและวิชาการ ประเด็นยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดที่ 2.1 ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ น้ำหนัก ร้อยละ 20 คำอธิบาย : การวางแผนยุทธศาสตร์ สำหรับส่วนราชการ คือ กระบวนการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และ แผนปฏิบัติราชการประจำปี ซึ่งส่วนราชการจะต้องมีการกำหนดขั้นตอน/กิจกรรมให้มีความ เหมาะสมกับกรองเวลาในการดำเนินการ กรอบเวลาที่เหมาะสม หมายถึง การกำหนดเวลาที่ใช้ในการจัดทำแผนปฏิบัติราชการอย่างชัดเจน เป็นการล่วงหน้า โดยสอดคล้องกับระเบียบสำนักนายก ฯ ว่าด้วยการจัดทำแผนบริหารราชการ แผ่นดิน พ.ศ.2547 (สำหรับแผน ฯ 4 ปี) และสอดคล้องกับปีปฏิทินงบประมาณ (สำหรับแผน ฯ ประจำปีและแผนปฏิบัติการ) ระดับ 1 มีการจัดทำแผนภาพ (Flowchart) ของกระบวนการจัดทำแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติ ราชการประจำปีของกรม โดยกำหนดขั้นตอน/กิจกรรม/ผู้รับผิดชอบ/กรอบเวลา อย่างชัดเจน และได้รับความเห็นชอบจากผู้บริหาร 2 มีการวิเคราะห์ปัจจัยภายใน และภายนอก เพื่อจัดทำแผน ฯ 4 ปี และแผน ฯ ประจำปี อย่างน้อยต้องประกอบด้วย วิสัยทัสฯ พันธกิจ ความต้องการของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียผลการดำเนินงานที่ผ่านมา ความเสี่ยงด้านต่าง ๆ และปัจจัยอื่นที่มีผลต่อประสิทธิผลและประสิทธิภาพของกรม 3 มีแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี (พ.ศ ) และแผนปฏิบัติราชการประจำปี พ.ศ ที่ได้รับความเห็นชอบจากผู้บริหาร 4 จัดให้มีการสื่อสารและถ่ายทอดยุทธศาสตร์จากผู้บริหารไปยังบุคลากรที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติ (กำหนดช่องทาง วิธีการ เพื่อสื่อสารทำความเข้าใจในเรื่องแผนงาน/โครงการ) 5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และประสบการณ์ในการจัดทำแผน ฯ ระหว่างผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวข้อง - มีรายงานสรุปผลการดำเนินงานและข้อเสนอแนะ เพื่อปรับปรุงกระบวนการจัดทำแผนฯ ให้ดีขึ้น จากเดิม

64 กองแผนงานและวิชาการ ประเด็นยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดที่ 2.2 ระดับความสำเร็จของการจัดทำระบบในการติดตามและประเมินผลการดำเนินงาน ตามแผนปฏิบัติราชการของกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ น้ำหนัก ร้อยละ 20 คำอธิบาย : ระดับ 1 มีการจัดทำรายละเอียดของแผนงาน/โครงการ เพื่อใช้ในการติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี ซึ่งต้องประกอบด้วย ระยะเวลาดำเนินการในแต่ละกิจกรรม ผู้รับผิดชอบในแต่ละแผนงาน/โครงการ การจัดสรรงบประมาณ และทรัพยากร ด้านอื่น ๆ 2 มีการสื่อสารและทำความเข้าใจ เพื่อให้ผู้เกี่ยวข้องสามารถนำไปสู่การปฏิบัติ และรายงานผลการดำเนินงานได้ตามแผนงาน/โครงการที่กำหนด 3 มีการติดตามความก้าวหน้าของแผนงาน/โครงการ และสรุปผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรค นำเสนอต่อผู้บริหารอย่างสม่ำเสมอ (รอบ 6, 9 และ 12 เดือน) 4 จัดทำรายงานผลสำเร็จในการดำเนินการตามรายละเอียดของแผนงาน/โครงการที่กำหนด 5 นำผลการดำเนินงานในขั้นตอนที่ 4 ไปจัดทำรายงานผลการติดตามผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติราชการ 4 ปี และแผนปฏิบัติราชการประจำปี เสนอต่อผู้บริหาร

65 ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
วิสัยทัศน์ เป็นหน่วยงานที่ได้รับการยอมรับด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของกรม ฯ ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. พัฒนาศักยภาพบุคลากร 2. ส่งเสริมและสนับสนุนการพฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่อสาร ให้มีความครอบคลุม มั่นคง และปลอดภัย

66 ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร ให้มีความครอบคลุม มั่นคง ปลอดภัย ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จในการพัฒนาปรับปรุงสารสนเทศ น้ำหนัก ร้อยละ 30 คำอธิบาย : เป็นการประเมินผลโดยใช้การสำรวจความพึงพอใจของผู้ใช้งานสารสนเทศ รวมกับข้อมูล เชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ แบ่งเป็น 2 ตัวชี้วัดย่อย ตัวชี้วัดที่ ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจของผู้ใช้งานสารสนเทศ น้ำหนัก ร้อยละ 15 คำอธิบาย ประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้งานสารสนเทศ โดยใช้แบบสำรวจการพัฒนาองค์การ ซึ่งเป็นการสำรวจผ่านระบบออนไลน์ ซึ่งจะมีการประเมิน 2 ครั้ง โดยเปรียบเทียบ Gap จาการ สำรวจครั้งที่ 1 และครั้งที่ 2

67 ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
เกณฑ์การให้คะแนน : แบ่งเป็น กรณี กรณีที่ 1 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจของผู้ใช้งานสานสนเทศ ครั้งที่ 1 ≤ 0.3 - กรณีที่ Gap ครั้งที่ 2 ≤ ครั้งที่ 1 จะได้คะแนนเท่ากับ 5 คะแนน - กรณีที่ Gap ครั้งที่ 2 > 0.3 แต่น้อยกว่า 0.8 เกณฑ์การให้คะแนนจะคำนวณจากสัดส่วนของ Gap ที่เพิ่มขึ้นตามสูตรการคำนวณที่ ก.พ.ร. กำหนด กรณีที่ 2 ส่วนต่างระหว่างความเห็นและความสำคัญต่อความพึงพอใจของผู้ใช้งานสานสนเทศ ครั้งที่ 1 > 0.3 - กรณีที่ Gap ครั้งที่ 2 ≤ จะได้คะแนนเท่ากับ 5 คะแนน - กรณีที่ Gap ครั้งที่ 2 < ครั้งที่ 1 แต่ > เกณฑ์การให้คะแนนจะคำนวณจากสัดส่วนของ Gap ที่ลดลงตามสูตรการคำนวณที่ ก.พ.ร. กำหนด - กรณีที่ Gap ครั้งงที่ 2 = ครั้งที่ 1 จะได้คะแนนเท่ากับ 3 คะแนน - กรณีที่ Gap ครั้งที่ 2 > ครั้งที่ 1 แต่น้อยกว่า 0.8 เกณฑ์การให้คะแนนจะคำนวณจากสัดส่วน ของ Gap ที่เพิ่มขึ้น ตามสูตรการคำนวณที่ ก.พ.ร. กำหนด เงื่อนไข : ใช้ผลการประเมินของกรม

68 ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
ตัวชี้วัดที่ จำนวนข้อมูลเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ น้ำหนัก ร้อยละ 10 คำอธิบาย ประเมินจากข้อมูลเชิงประจักษ์ด้านประสิทธิภาพของระบบสารสนเทศ จำนวน 10 รายการ ได้แก่ 1) ฐานข้อมูลที่ครอบคลุมที่ใช้สนับสนุนการปฏิบัติงาน 2) ระบบตรวจสอบความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่จัดเก็บในระบบฐานข้อมูล 3) การอัพเดทข้อมูลที่จำเป็นอย่างสม่ำเสมอและทันท่วงที 4) ระบบสืบค้นข้อมูลที่มีประสิทธิภาพ 5) การพัฒนาปรับปรุงเทคโนโลยีสารสนเทศจากข้อคิดเห็น/ข้อเสนอแนะ/ข้อร้องเรียนผู้ใช้งาน 6) จำนวนผู้ใช้ระบบ Intranet ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ของบุคลากรในหน่วยงาน 7) จำนวนผู้ใช้ระบบ Internet เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา 8) แนวทาง/มาตรการป้องกันความเสียหายและการสำรองข้อมูลสารสนเทศ 9) ระบบรักษาความมั่นคงและปลอดภัยของระบบฐานข้อมูลและสารสนเทศ 10) ระบบ Access Right ที่ถูกต้องและทันสมัย ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3 ระดับ 4 ระดับ 5 ≤ 6 7 8 9 10 เงื่อนไข : ใช้ผลการประเมินของกรม

69 ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเด็นยุทธศาสตร์ ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร ให้มีความครอบคลุม มั่นคง ปลอดภัย ตัวชี้วัดที่ ระดับความสำเร็จในการจัดทำระบบแลกเปลี่ยนเชื่อมโยงข้อมูลผลการ ตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ น้ำหนัก ร้อยละ คำอธิบาย : เป็นการพัฒนาฐานข้อมูลกลางการรับตัวอย่างและผลการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ ให้เป็นระบบ สามารถแลกเปลี่ยนเชื่อมโยงข้อมูลผลการตรวจวิเคราะห์ระหว่างหน่วยงาน นำร่อง จำนวน 4 หน่วยงาน ได้แก่ สคอ. สว. ศรบ. และ ศวก.พล ระดับ 1 รวบรวมความต้องการและศึกษาปัญหาระบบ 2 จัดทำข้อกำหนดขอบเขต (TOR) การจ้างพัฒนาระบบ 3 ดำเนินการตามกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง 4 ประชุมทบทวนความต้องการ กำหนดมาตรฐานข้อมูลด้านการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการเพื่อการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูล และออกแบบระบบ 5 - พัฒนาซอฟต์แวร์พร้อมทดสอบและติดตั้งระบบเพื่อแลกเปลี่ยนเชื่อมโยงข้อมูลผลการตรวจ วิเคราะห์ระหว่างหน่วยงาน นำร่อง จำนวน 4 หน่วยงาน ได้แก่ สคอ. สว. ศรบ. และ ศวก.พล - ได้ฐานข้อมูลกลางด้านการตรวจวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ

70 ศูนย์รวมบริการ ประเด็นยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดที่ 2.1 ร้อยละเฉลี่ยในการให้บริการที่แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด น้ำหนัก ร้อยละ 20 คำอธิบาย : พิจารณาจากร้อยละของการให้บริการรับตัวอย่างที่ดำเนินการแล้วแสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด ไว้ในมาตรฐานงาน ระดับ 1 2 3 4 5 50 60 70 80 90 สูตรการคำนวณ : จำนวนตัวอย่างที่ดำเนินการแล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด X 100 จำนวนตัวอย่างที่ดำเนินการแล้วเสร็จทั้งหมด เงื่อนไข : 1. ให้หน่วยงานเก็บข้อมูลผลการดำเนินงานจริง 9 เดือน คือ ตั้งแต่ มค.-กย.2555 เพื่อใช้เป็นข้อมูลผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรอง ฯ โดยเก็บข้อมูลทุกตัวอย่าง 2. เวลาที่กำหนด 20 นาทีต่อตัวอย่าง โดยไม่รวมตัวอย่างที่มีปัญหา เช่น จำนวน ตัวอย่างไม่ครบ เงินค่าตรวจวิเคราะห์ไม่พอชำระต้องไปเบิกเงินเพิ่ม ตัวอย่างที่ต้องปรึกษา นักวิชาการ เป็นต้น

71 ศูนย์รวมบริการ ประเด็นยุทธศาสตร์
ตัวชี้วัดที่ 2.2 ระดับความสำเร็จของการจัดทำคู่มือการรับตัวอย่างทางไปรษณีย์ น้ำหนัก ร้อยละ 20 คำอธิบาย : ระดับ 1 สำรวจความต้องการและข้อคิดเห็นจากผู้รับบริการเกี่ยวกับการให้บริการรับตัวอย่างทางไปรษณีย์ 2 นำผลการสำรวจและข้อคิดเห็นจากผู้รับบริการมาประกอบการพิจารณาออกแบบกระบวนงานให้บริการรับตัวอย่างทางไปรษณีย์ 3 จัดทำร่างคู่มือการรับตัวอย่างทางไปรษณีย์ ประกอบด้วยข้อกำหนดที่สำคัญ เช่น ขั้นตอนระยะเวลาการปฏิบัติงาน ความต้องการของผู้รับบริการ เป้าหมายที่กำหนด ประสิทธิภาพ (ประหยัด ทันเวลา คุ้มค่า) จุดควบคุม 4 นำเสนอคู่มือการรับตัวอย่างต่อผู้บริหาร และได้รับความเห็นชอบ 5 เผยแพร่คู่มือการรับตัวอย่างให้ผู้รับบริการรับทราบและใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ

72 ศูนย์ชุดทดสอบและผลิตภัณฑ์
วิสัยทัศน์ เป็นศูนย์กลางเกี่ยวกับชุดทดสอบวิทยาศาสตร์ในด้านวิชาการ มาตรฐาน คุณภาพ และข้อมูลข่าวสาร รวมถึงการกระจาย (จำหน่าย) ในระดับประเทศ ประเด็นยุทธศาสตร์ 1. รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับชุดทดสอบรวมทั้งเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ทุกรูปแบบ 2. วางแผนการกระจายชุดทดสอบอย่างเป็นระบบ 3. ส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการด้านวิทยาศาสตร์ การแพทย์และด้านชุดทดสอบ รวมทั้งการพัฒนาและ การควบคุมคุณภาพมาตรฐาน

73 ศูนย์ชุดทดสอบและผลิตภัณฑ์
ประเด็นยุทธศาสตร์ รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับชุดทดสอบรวมทั้งเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ทุกรูปแบบ ตัวชี้วัดที่ ความสำเร็จของการปรับปรุงและพัฒนารุปแบบการเผยแพร่ จัดแสดง นวัตกรรม องค์ความรู้ เทคโนดลยี ชุดทดสอบและผลิตภํณฑ์ กรม ฯ น้ำหนัก ร้อยละ คำอธิบาย : ระดับ 1 ทบทวนวิเคราะห์ผลการดำเนินงานโครงการจัดแสดงนวัตกรรมในปีที่ผ่านมา เพื่อประกอบการจัดทำแผนปฏิบัติการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2555 2 จัดทำแผนปฏิบัติการการจัดแสดงนวัตกรรม และรวบรวมการประเมินข้อคิดเห็นในเรื่องการจัดแสดงนวัตกรรมของศูนย์ชุดทดสอบและผลิตภัณฑ์จากหน่วยงานหลักที่เป็นเจ้าภาพจัดงาน เพื่อนำมาปรับปรุงพัฒนารูปแบบ 3 ประเมินข้อคิดเห็นที่ได้รับและดำเนินการแผนปรับปรุง พัฒนารูปแบบและประสิทธิภาพของการ จัดแสดงนวัตกรรม 4 ประเมินผลเปรียบเทียบรูปแบบ และประสิทธิภาพของการจัดแสดงนวัตกรรม 5 จัดทำรายงานสรุปผลการปรับปรุง และพัฒนา และผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 พร้อมระบุปัจจัยความสำเร็จ ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ ตัวชี้วัดเดียวกับปี 2554


ดาวน์โหลด ppt ข้อเสนอตัวชี้วัด หน่วยงานส่วนกลาง ปีงบประมาณ พ.ศ. 2555.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google