งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

คริพโตกราฟี (Cryptography)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "คริพโตกราฟี (Cryptography)"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 คริพโตกราฟี (Cryptography)

2 คริพโตกราฟี (Cryptography)

3 องค์ประกอบของรหัสลับ
ข้อความต้นฉบับ (Plain text) คือ ข้อมูลต้นฉบับซึ่งเป็นข้อความที่สามารถอ่านแล้วเข้าใจ อัลกอริทึมการเข้ารหัสลับ (Encryption Algorithm) คือ กระบวนการหรือขั้นตอนที่ใช้ในการแปลงข้อมูลต้นฉบับเป็นข้อมูลที่ได้รับการเข้ารหัส กุญแจลับ (Key) คือ เป็นกุญแจที่ใช้ร่วมกับ อัลกอริทึมในการเข้ารหัส และถอดรหัส ข้อความไซเฟอร์ (Ciphertext) คือ ข้อมูลหรือข่าวสารที่ได้รับการเข้ารหัส ทำให้อ่านไม่รู้เรื่อง อัลกอริทึมการถอดรหัสลับ (Decryption Algorithm) คือ กระบวนการหรือขั้นตอนในการแปลงข้อความไซเฟอร์ให้กลับเป็นข้อความต้นฉบับ โดยอาศัยกุญแจลับดอกเดียวกัน

4 การจำแนกประเภทของรหัสลับ
เทคนิคการแทนที่ (Substitution Techniques) เทคนิคการสับเปลี่ยน (Transposition Techniques)

5 การเข้ารหัสลับแบบแทนที่ => ไซเฟอร์แบบเลื่อน
ไซเฟอร์แบบเลื่อน (shift cipher) คือ ให้แทนอักขระของข้อความต้นฉบับแต่ละตัวด้วยอักขระที่อยู่เลื่อนไป K ตำแหน่ง เช่น weapons of mass destruction ZHDSRQV RI PDVV GHVWUXFWLRQ จากตัวอย่าง K = 3 K มีความเป็นไปได้กี่คีย์ ? 26 จงแปลงเป็นตัวเลขจำนวนเต็มโดย a = 0

6 ไซเฟอร์แบบเลื่อน K = 3 Plainttext a b c d e f g h i j k l m Ciphertext
O P Plainttext n o p q r s t u v w x y z Ciphertext Q R S T U V W X Y Z A B C

7 การเข้ารหัสลับแบบแทนที่ => ไซเฟอร์แบบแทนที่อักษรเดี่ยว
ไซเฟอร์แบบแทนที่อักษรเดี่ยว (monoalphabetic substitution cipher) คือ การแทนอักขระของข้อความต้นฉบับด้วยอักขระตัวอื่นๆ แต่ห้ามเลือก cipher text ซ้ำ เช่น Love Me Love My Dog ORHN PN ORHN PT GRA Plainttext a b c d e f g h i j k l m Ciphertext X E Q G N I A D L Z J O P Plainttext n o p q r s t u v w x y z Ciphertext B R Y F U S W V H M K T C

8 การเข้ารหัสลับแบบสับเปลี่ยน => ไซเฟอร์แบบแนวรั้ว
ไซเฟอร์แบบแนวรั้ว (rail fence cipher) คือการเขียนข้อความต้นฉบับทีละอักขระในแนวทแยงตามจำนวนแถว (K ) ที่ระบุไว้ล้วงหน้า เมื่อครบทุกแถวให้ขยับไปทางขวามือแล้วเริ่มต้นเขียนอักขระทีละแถวใหม่ เช่น “bring me the book” b i g e h b o r n m t e o k ข้อความไซเฟอร์ที่ได้ BIGEH BO RNM TEOK K = ? 2

9 การเข้ารหัสลับแบบสับเปลี่ยน => ไซเฟอร์แบบคอลัมน์
ไซเฟอร์แบบคอลัมน์ (columnar transposition cipher) เริ่มต้นด้วยการกำหนดขนาดคอลัมน์ ที่ใช้ในการเข้ารหัส เขียนข้อความต้นฉบับที่ละแถวลงในเมทริกซ์ ที่มีจำนวนคอลัมน์ ตามกำหนด เช่น “go to the zoo ” และเลือกใช้กุญแจ 41253

10 ตัวอย่าง ไซเฟอร์แบบคอลัมน์
ลำดับแถว => g o t o t h e z o o key => ข้อความไซเฟอร์ OE TZ TO GH OO


ดาวน์โหลด ppt คริพโตกราฟี (Cryptography)

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google