งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

COE2011-27 การแบ่งปันความลับเหนืออาร์เอ็สเอ ระยะที่ 2 (Secret Sharing over RSA : Phase 2) อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ. พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "COE2011-27 การแบ่งปันความลับเหนืออาร์เอ็สเอ ระยะที่ 2 (Secret Sharing over RSA : Phase 2) อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ. พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 COE การแบ่งปันความลับเหนืออาร์เอ็สเอ ระยะที่ 2 (Secret Sharing over RSA : Phase 2) อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ. พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน โดย ดร. ภัทรวิทย์ พลพินิจ นาย กฤษณะ แก้วคง รหัส ดร. วสุ เชาว์พานนท์ นาย อโนชา อุพลเถียร รหัส

2 รายละเอียดการนำเสนอ ที่มาและความสำคัญของโครงการ
เป้าหมายและขอบเขตของโครงการ ภาพรวมของระบบ ผลการทำงาน บทสรุป

3 ที่มาและความสำคัญของโครงการ
กลวิธีแบ่งปันความลับสามารถอำนวยความสะดวกในการเผยแพร่หรือแบ่งปันกระบวนการสำคัญ โดยอาศัยความร่วมมือของผู้เกี่ยวข้อง ข้อเสียของกลวิธีนี้คือการจัดการกุญแจที่ไม่มีประสิทธิภาพ และการสื่อสารของผู้ที่เกี่ยวข้อง โครงการการแบ่งปันความลับเหนืออาร์เอ็สเอ ระยะที่ 2 เป็นการพัฒนาอัลกอริทึม และโปรแกรมในส่วนของการสร้างข้อมูลลับกลับจากกุญแจลับร่วม ( 𝑥 𝑖, 𝑦 𝑖 ) ด้วยวิธีพหุนามการประมาณค่าในช่วงของลากรานจ์ เพื่อลดความซับซ้อนเชิงเวลาและพื้นที่ว่าง และเพิ่มประสิทธิผลการแบ่งปันความลับเหนืออาร์เอ็สเอให้สูงขึ้น กลวิธีแบ่งปันความลับสามารถอำนวยความสะดวกในการเผยแพร่หรือแบ่งปันกระบวนการสำคัญ อาทิเช่น การสั่งจ่ายเช็ค การเปิดตู้เซฟธนาคาร เป็นต้น โดยอาศัยความร่วมมือของผู้เกี่ยวข้อง 𝑡 จาก 𝑤 คน ข้อเสียของกลวิธีนี้คือการจัดการกุญแจที่ไม่มีประสิทธิภาพ และการสื่อสารของผู้ที่เกี่ยวข้อง กลวิธีแบ่งปันความลับหมายถึงการกระจายความลับท่ามกลางกลุ่มผู้เกี่ยวข้อง โดยสามารถสร้างข้อมูลลับนั้นขึ้นมาใหม่ได้ หากว่ามีจำนวนคนที่ได้สิทธิเพียงพอกับจำนวนที่ตั้งไว้ให้สามารถสร้างข้อมูลลับกลับได้ แต่ทว่าการแบ่งปันความลับดังกล่าวไม่เหมาะกับข่าวสารปริมาณมากเพราะต้องใช้จำนวนเต็มขนาดใหญ่ในการคำนวณซึ่งทำให้เกิดความล่าช้า และไม่สะดวกต่อการส่งข้อมูลในระยะไกล การแบ่งปันความลับเหนืออาร์เอ็สเอ ระยะที่ 2 เป็นการพัฒนาอัลกอริทึม และโปรแกรมในส่วนของการสร้างกุญแจลับกลับจากกุญแจลับร่วม เพื่อลดความซับซ้อนเชิงเวลาและพื้นที่ว่าง และเพิ่มประสิทธิผลการแบ่งปันความลับเหนืออาร์เอ็สเอให้สูงขึ้น

4 เป้าหมายและขอบเขตของโครงการ
เป้าหมายของโครงการ ได้โปรแกรมต้นแบบสำหรับแบ่งปันข้อมูลลับที่มีประสิทธิภาพสูงขึ้น สะดวก และความปลอดภัยสูง ขอบเขตของโครงการ พัฒนาโปรแกรมที่ใช้ในการแบ่งปันข้อมูลลับด้วยภาษา Python

5 ภาพรวมของระบบ

6 การเข้ารหัส

7 การถอดรหัส

8 การออกแบบ

9 การผลิตกุญแจลับร่วม ตัวอย่าง สุ่มจำนวนเฉพาะ สร้างฟิลด์ 𝔽 𝑝 กำหนดจำนวนกุญแจลับร่วม 𝑤 และ จำนวนกุญแจที่จะสามารถสร้างกุญแจลับกลับได้ 𝑡 ในที่นี้ 𝑝 =

10 การผลิตกุญแจลับร่วม ตัวอย่าง สุ่ม 𝑆 𝑖 เหนือฟิลด์ 𝔽 𝑝 เมื่อ 1≤𝑖≤𝑡−1 เพื่อสร้างกุญแจลับร่วม

11 การผลิตกุญแจลับร่วม ตัวอย่าง กุญแจลับร่วม ( 𝑥 𝑖, 𝑦 𝑖 ) ที่ได้จากการแทนค่า 𝑥 𝑖 ลงในสมภาค (1)

12 การออกแบบ

13 การถอดรหัสข้อมูลลับร่วม
ตัวอย่าง การนำกุญแจลับจำนวน 3 ชุด เพื่อสร้างข้อมูลลับกลับด้วยวิธีพหุนามการประมาณค่าในช่วงของลากรานจ์

14 การถอดรหัสข้อมูลลับร่วม
ตัวอย่าง นำกุญแจ 𝑥 1, 𝑦 1 ,… , 𝑥 𝑡, 𝑦 𝑡 ตามจำนวน 𝑡 แทนในสมการ (3) จะได้ข้อมูลลับ 𝑚=

15 ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง การผลิตกุญแจลับร่วม การถอดรหัสข้อมูลลับร่วม
วิธี Vandermonde Matrix วิธีพหุนามการประมาณค่าในช่วงของลากรานจ์ การเข้ารหัสแบบ DES การเข้ารหัสแบบ RSA

16 การผลิตกุญแจลับร่วม การผลิตกุญแจลับร่วม 1. สุ่มจำนวนเฉพาะ 𝑝
1. สุ่มจำนวนเฉพาะ 𝑝 2. สร้างฟิลด์บนจำนวนเฉพาะ 𝔽 𝑝 3. กุญแจลับที่ต้องการสร้างกุญแจลับร่วม 𝑚 ต้องอยู่ เหนือฟิลด์ 𝔽 𝑝

17 การผลิตกุญแจลับร่วม 4. กำหนดจำนวนกุญแจลับร่วม 𝑤 และ จำนวนกุญแจที่จะสามารถสร้างกุญแจลับกลับได้ 𝑡 5. สุ่ม 𝑆 𝑖 ∈ 𝔽 𝑝 เมื่อ 1≤𝑖≤𝑡−1 และใช้สมภาค (1) เพื่อสร้างกุญแจลับร่วม (1)

18 การถอดรหัสข้อมูลลับร่วม
วิธี Vandermonde Matrix 1. เมื่อทราบค่า 𝑝 แล้วนำมาสร้างฟิลด์ 𝔽 𝑝 2. นำกุญแจ 𝑥 1, 𝑦 1 ,… , 𝑥 𝑡, 𝑦 𝑡 ตามจำนวน 𝑡 แทนในสมการ (2) ในรูปของเมตริกซ์ (2)

19 การถอดรหัสข้อมูลลับร่วม
วิธีพหุนามการประมาณค่าในช่วงของลากรานจ์ 1. เมื่อทราบค่า 𝑝 แล้วนำมาสร้างฟิลด์ 𝔽 𝑝 2. นำกุญแจ 𝑥 1, 𝑦 1 ,… , 𝑥 𝑡, 𝑦 𝑡 ตามจำนวน 𝑡 แทนในสมการ (3) (3)

20 การเข้ารหัสแบบ DES การเข้ารหัสแบบ DES เป็นอัลกอริทึมการเข้ารหัสแบบสมมาตร ทั้งผู้ส่งและผู้รับจะใช้ Key ตัวเดียวกันในการเข้ารหัสและถอดรหัส เป็นการเข้ารหัสแบบบล็อกขนาด 64 บิต โดยใช้กุญแจขนาด 56 บิต + 8 parity บิต ในการเข้ารหัสข้อความ

21 การเข้ารหัสแบบ DES ใช้เข้ารหัสข้อมูลขนาดใหญ่ เนื่องจากมีความรวดเร็วในการประมวลผลสูง มีการคำนวณซ้ำๆ 16 รอบต่อข้อมูลหนึ่งบล็อก ทำให้การถอดรหัสข้อมูลโดยไม่มีคีย์เป็นไปได้ยาก สามารถประมวลผลได้ในหลายระบบปฏิบัติการ

22 การเข้ารหัสแบบ RSA การเข้ารหัสแบบ RSA เป็นอัลกอริทึมการเข้ารหัสแบบอสมมาตร ในการเข้ารหัสโดยใช้ความรู้เรื่องเลขคณิตมอดุลาร์เข้ามาช่วยในการคำนวณ (modular arithmetic) RSA นั้น จะมีการสร้าง Public Key และ Private Key เพื่อใช้ในการเข้ารหัสและถอดรหัสโดยที่ ฝั่งผู้ส่งจะใช้ Public Key ในการเข้ารหัส และฝั่งผู้รับจะใช้ Private Key ในการถอดรหัส

23 ความปลอดภัยของการเข้ารหัสแบบ RSA

24 ผลการทำงาน

25 ผลการทำงาน

26 ผลการทำงาน

27 ผลการทำงาน

28 สรุป ได้โปรแกรมต้นแบบสามารถแบ่งปันความลับได้อย่างถูกต้อง มีประสิทธิภาพสูง สะดวก และความปลอดภัยสูง สามารถนำอัลกอริทึมนี้ไปต่อยอดในด้านความปลอดภัยอื่นๆได้

29 ถาม-ตอบ

30 ขอบคุณครับ

31

32


ดาวน์โหลด ppt COE2011-27 การแบ่งปันความลับเหนืออาร์เอ็สเอ ระยะที่ 2 (Secret Sharing over RSA : Phase 2) อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ. พิเชษฐ เชี่ยวธนะกุล อาจารย์ผู้ร่วมประเมิน.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google