งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด."— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา
โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด จ.สงขลา

2 ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา
บริบท การรับประทานยาต้านไวรัสอย่างสม่ำเสมอ และตรงเวลา ถือเป็นหัวใจของการปฏิบัติตัวที่ สำคัญของผู้ติดเชื้อเอชไอวีและผู้ป่วยเอดส์ และส่งผลให้การรักษาด้วยยาต้านไวรัสมี ประสิทธิภาพสูงสุด ลดค่าใช้จ่ายให้ประเทศชาติ ป้องกันความล้มเหลวในการรักษา ลดอัตราการ เจ็บป่วยและตายด้วยโรคเอดส์ ทางทีมงานคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนดจึงมีโครงการ เฝ้าระวังและป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในปี 2555 ขึ้นโดย 1. ดูแลให้ผู้ป่วยไม่ขาดยา (ไม่ ขาดนัด) 2. ตรวจ CD4, VL ตามเกณฑ์ 3. ตรวจ DR ในกรณีมีความเสี่ยงต่อการล้มเหลวในการ รักษา 4. เปลี่ยนสูตรยาโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญอย่างรวดเร็วเมื่อมีการดื้อยา 5. แก้ไขปัญหา รายบุคคลในกรณีมีความเสี่ยงต่อการล้มเหลวในการรักษา และ6. เน้นย้ำความสำคัญของการ รับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ ผลจากการเฝ้าระวังและป้องกันความล้มเหลวในการรักษาพบว่า ในปี2555 คลินิกยาต้าน ไวรัสโรงพยาบาลระโนด มีจำนวนผู้ป่วยดื้อยาลดลง จาก 19 ราย ในปี เหลือ 9 รายในปี มีการดูแลและแก้ไขปัญหาการขาดนัดและรับประทานยาไม่สม่ำเสมอได้อย่างแท้จริง

3 ประเด็นคุณภาพ/ ความเสี่ยงที่สำคัญ
1. ผู้ป่วยขาดนัด/ ขาดยา 2. ผู้ป่วยขาดการตรวจ CD4, VL ตามเกณฑ์ 3. เกิดความล่าช้าของระบบการตรวจเชื้อ DR 4. เกิดความล่าช้าในระบบการเปลี่ยนสูตรดื้อยา 5. จนท. ไม่สามารถแก้ปัญหาความเสี่ยงต่อความล้มเหลวในการรักษาได้ไม่ตรงกับปัญหาของผู้ป่วย 6. ผู้ป่วยขาดแรงกระตุ้น เตือนถึงความสำคัญของการรับประทานยาอย่างสม่ำเสมอ

4 วัตถุประสงค์ 1. อัตราผู้ป่วยขาดนัดน้อยกว่าร้อยละ อัตราผู้ป่วยขาดยาเกิน 6 เดือนน้อยกว่าร้อยละ เกิดเชื้อดื้อยาน้อยกว่า ร้อยละ 5 4. ผู้ป่วยรับประทานยาสม่ำเสมอ(มากกว่าร้อยละ 95) ร้อยละ ผู้ป่วยเอดส์ตายน้อยกว่าร้อยละ 2

5 ระยะเวลาดำเนินการ 1 ต.ค ก.ย.55

6 วิธีดำเนินการ 1.ประชุมทีมงานคลินิกยาต้านเพื่อชี้แจงแนวทางการเฝ้าระวังและป้องกันความล้มเหลวใน การรักษา 2. พัฒนาระบบ ติดตามผู้ป่วยขาดนัด ให้มีคุณภาพ ได้มาตรฐาน และต่อเนื่อง

7 วิธีดำเนินการ 3. พัฒนาระบบการเตือนการตรวจ CD4 และ VL ให้ได้ตามเกณฑ์
5. เข้าร่วมกับระบบการของคำปรึกษาทาง internet กับรพ.ศูนย์ เพื่อเพิ่มความรวดเร็วในการ เปลี่ยนสูตรยา

8 ผลการดำเนินงานปี 2554-2555 ตัวชี้วัด 1. อัตราผู้ป่วยขาดนัด
เป้าหมาย ผลงานปี 2554 ผลงานปี 2555 1. อัตราผู้ป่วยขาดนัด <ร้อยละ 20 10.58 (142/1,342) 10.87 (183/1,1683) 2. อัตราผู้ป่วยขาดยาเกิน 6 เดือน <ร้อยละ 1 2.6 0.03 3. เกิดเชื้อดื้อยา <ร้อยละ 5 7.3 3.2 4.ผู้ป่วยรับประทานยาสม่ำเสมอ(มากกว่าร้อยละ 95) ร้อยละ 90 ร้อยละ 90 92.77 94.12 5. ผู้ป่วยเอดส์ตายน้อยกว่าร้อยละ 2 100 6. การติดตามระดับ CD4ทุก 6 เดือน ร้อยละ 80 32.53 76.47 7. การติดตามระดับ VL ทุกปี 90.36 97.32

9 แผนการพัฒนาต่อเนื่อง
1. พัฒนาระบบการติดตามการขาดนัดโดยใช้ computer 2. พัฒนาระบบบันทึกปัญหาและการให้ความรู้ตาม HIV Treatment literacy   3. เขียนโครงการพัฒนางานตามปัญหาตัวชี้วัด 4. ศึกษาความพึงพอใจผู้รับบริการ


ดาวน์โหลด ppt ผลการเฝ้าระวัง และป้องกันความล้มเหลวในการรักษาในโรงพยาบาลระโนด จ. สงขลา โดย นส.จาฤดี กองผล, นางละมัย ช่วยแดง พยาบาลประจำคลินิกยาต้านไวรัสโรงพยาบาลระโนด.

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google