งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

วิธีการแก้ปัญหา วิเคราะห์ปัญหา “สร้างน้ำใจ สร้างชีวิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "วิธีการแก้ปัญหา วิเคราะห์ปัญหา “สร้างน้ำใจ สร้างชีวิต"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วิธีการแก้ปัญหา วิเคราะห์ปัญหา “สร้างน้ำใจ สร้างชีวิต
ร่วมผ่าวิกฤตอุทกภัย” “ความทุกข์แสนสาหัส มันมากับน้ำท่วมครั้งยิ่งใหญ่ในชีวิต” ที่หลายชีวิตไม่เคยประสบพบมาก่อน 12 ตุลา 54 น้ำเริ่มไหลเข้าท่วมบ้านของหลายๆครอบๆที่อยู่เขตรอบๆกรุงเทพฯ เราต้องช่วยตัวเอง และครอบครัว วิเคราะห์ปัญหา ระบบบริหารจัดการเรื่องยา -จำนวนยา -ระบบการส่งยา ผู้ป่วย -ผู้ป่วยจากที่อื่นๆที่เดินทางไป ร.พ เดิมไม่ได้ -ป่วยของบำราศฯ มาไม่ได้ สถานการน้ำ -ระยะเวลาที่น้ำจะถึงสถาบันบำราศนราดูร -ขณะนี้ และต่อๆไปน้ำจะท่วมถึงที่ไหนท่วมที่ไหนบ้าง -น้ำจะท่วมบริเวณนั้นๆนานเท่าไหร่ การหาพันธมิตร -โรงพยาบาลใกล้เคียง อื่นๆที่ติดต่อได้ -สปสช -NGO การสื่อสาร -การขาดอุปกรณ์สื่อสาร -ระบบ IT ผู้ป่วยอาจขาดยา วิธีการแก้ปัญหา เป้าหมายผู้ป่วยเอชไอวี/เอดส์ได้รับยาต่อเนื่อง 100 % หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สำรวจกลุ่มโรคที่จำเป็นต้องได้รับยาต่อเนื่อง ตกลงวัน นัดใหม่ โดยไม่ให้ ขาดยา ไม่สามารถมา รับยาได้และมี แนวโน้มจะขาด ยา แผนกสูติ-นรีเวชกรรม โทรศัพท์ ติดตาม คนไข้ แผนกอายุรกรรม แผนที่ 1 แผนที่ 2 ผู้ป่วยที่ไม่มาตรวจ ตามนัดในวันนั้น แพทย์สั่งยา เภสัชกรจัดยา Pack เตรียมส่งให้คนไข้ พร้อมใบนัด ใบตรวจเลือด (ถ้ามี) ผู้ประสานงาน คุณกรุณา ลิ้มเจริญ คุณเบญจมาศ อดุลยวัฒน์ สำรวจผู้ป่วยนัด ล่วงหน้า 1- 7 วัน สำรวจผู้ป่วยนัดใน 1-2 เดือน โทรศัพท์ติดตาม สอบถามแจ้งเตือน การนัดล่วงหน้า ส่งต่อข้อมูล (ชื่อ ที่อยู่ โทรศัพท์ คนไข้) ให้งานปรึกษา (ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ คนไข้) งานให้ปรึกษาให้ข้อมูลคนไข้* งานให้การปรึกษา - นำส่งสรุปรายงานทุกวันจันทร์มาที่งานติดตามและประเมิน - ดำเนินการติดตามผู้ป่วยในรายจัดส่งยา ตกลงวันนัด ใหม่โดยไม่ให้ ขาดยา ไม่สามารถมารับยาได้ และมีแนวโน้มจะขาดยา มีแผนติดตามสอบถาม คนไข้ทุกราย ** ให้ข้อมูลคนไข้* คุณศวิตา อิสสะอาด คุณนฤภัค บุญญฤทธิภัทร ประสาน สสจ. ติดตาม คนไข้ คุณ ลาวัลภ์ ฤกษ์งาม แผนกกุมารเวชกรรม งานธุรการนำส่งยา เภสัชกรจัดยา Pack เตรียมส่งให้ คนไข้ พร้อมใบนัด ผู้ประสานอายุรกรรมดำเนินการ ในส่วนที่เกี่ยวข้อง คืนแฟ้มประวัติตรวจสอบข้อมูล และดำเนินการตามประเด็น ปัญหา ติดต่อไม่ได้และคนไข้มี แนวโน้มจะขาดยา เปิดประชุม War room ทำไปแก้ปัญหาไป โดยมีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง อุปสรรค์ที่พบ - การสื่อสารในและนอกสถาบัน, IT ไม่เอื้อต่อการปฏิบัติงานติดตามผู้ป่วยของแผนกอายุรกรรม เนื่องจากมีผู้ป่วยในการดูแลจำนวนมาก และข้อมูลผู้ป่วยในระบบคอมพิวเตอร์ของสถาบันฯไม่สามารถคัดกรองข้อมูลพื้นที่ผู้เดือดร้อน/ ผู้ประสบภัยได้ ทำให้ตรวจสอบสุ่มกลุ่มเสี่ยงไม่ได้ การส่งต่อผู้ป่วยรับยาโรงพยาบาลใกล้บ้านหรือโรงพยาบาลที่สะดวก ไม่ประสบผลสำเร็จ เนื่องจากสถานพยาบาลอื่น ไม่ทราบนโยบาย ไม่ได้ปฏิบัติตามนโยบายเช่นเดียวกันทำให้การส่งต่อผู้ป่วยไปรับยาโรงพยาบาลใกล้บ้านผู้ป่วยไม่ประสบผลสำเร็จ ด้วยสาเหตุดังต่อไปนี้ นโยบายการจัดระบบให้ยาของ สปสช. กับระบบยาของของสถานพยาบาลที่อื่นๆไม่เหมือนกัน ปัญหาการจัดส่งยาให้ผู้ป่วยที่บ้าน (ส่ง EMS) ไม่ประสบผลสำเร็จเพราะผู้ป่วยไม่ได้รับยา และไม่สามารถติดตามรับยาที่ไปรษณีย์ได้ (ระบบ Logistic ไม่เอื้อ/ รองรับการดำเนินการตามนโยบาย) แต่สามารถแก้ไขปัญหาได้ โดยเจ้าหน้าที่และผู้ป่วยกำหนดพื้นที่นัดหมายและนำส่งยาให้ผู้ป่วยเอง ส่วนยาที่ค้างที่ไปรษณีย์เจ้าหน้าที่ผู้ดูแลประสานให้เจ้าหน้าที่ธุรการผู้รับผิดชอบการจัดส่งยาติดตามรับยากลับคืน - ระบบการส่งหนังสือ ที่แจ้งนโยบาย หลักเกณฑ์ ระเบียบปฏิบัติของราชการ จาก สปสช. ไม่ถึงผู้ปฏิบัติ หน่วยงานที่เกี่ยวตรวจสอบรายชื่อผู้ป่วยทีมีนัดในช่วงเดือน ก.ย.-ธ.ค.54 ,ม.ค.55 OPD-อายุรกรรม OPD-กุมารเวชกรรม OPD-สูติ-นรีเวชกรรม งานเภสัชกรรม งาห้องเวชระเบียน และงานตรวจสอบสิทธิ์ ER ประชาสัมพันธ์ งานให้การปรึกษา คลินิกวัณโรค งานสังคมสงเคราะห์ งานธุรการ ให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องปฏิบัติดังนี้ งานเภสัชกรรมตรวจสอบปริมาณยาให้พร้อมใช้ ตรวจสอบจำนวนยาของผู้ป่วยที่เหลือโดยคำนวณจากระบบ HomC ของ ร.พ. ที่จ่ายให้ไป ส่งรายชื่อให้หน่วยงานให้การปรึกษาเพื่อโทรศัพท์ติดต่อผู้ป่วยสอบถามถึงการเดินทางมารับยา ถ้ามาไม่ได้ให้ติดต่อรับยาที่ ร.พ.ที่สะดวกและสามารถไปได้ กรณีผู้ป่วยไม่สามารถออกมารับยาได้ให้จัดส่งยาทางไปรษณีย์โดยหน่วยงานเภสัชกรรมจัด Pack ยาการจัดยาต้องไม่ติดฉลากชื่อยาและป้ายสถาบันบำราศนราดูร จัดส่งให้งานธุรการเป็นผู้ส่งไปรษณีย์ และหน่วยงานธุรการต้องติดตามด้วยว่ายาไม่ถึงผู้รับกี่รายและส่งกลับมาที่ห้องยาเพื่อดำเนินการช่องทางอื่นๆต่อไป กรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถมาได้เลยติดต่อ NGO หาเครือข่ายจัดส่งยาแต่ต้องได้รับการยินยอมจากผู้ป่วย กรณีผู้ป่วย/ผู้แทนมาได้ให้แพทย์จัดยาให้เลยระยะน้ำท่วมโดยประมาณเดือน ม.ค.55 ผู้ป่วยที่มาจาก ร.พ. อื่นๆให้บริการรับยาได้ตามสิทธิ์ได้ทั้งในเวลาราชการและนอกเวลาราชการ งานตรวจสอบสิทธิ์ให้ออกสิทธิ์รักตรวจสถานการณืน้ำษาอื่นๆฟรีในรายที่ผู้ป่วยได้รับผลกระทบจากอุทกภัย งานสังคมสงเคราะห์ และงานให้การปรึกษาติดต่อเครือข่าย NGO เพื่อเตรียมความพร้อม ผู้อำนวยการประชุมร่วม MOU กับโรงพยาบาลพระนั่งเกล้าฯ วางแผนป้องกันน้ำ การรับ และส่งต่อผู้ป่วยกรณีน้ำท่วม ทั้งสองที่ การจัดตั้งโรงพยาบาลสนาม แผนการจัดที่พักอาศัยช่วยเหลือบุคลากรที่ได้รับผลกระทบจากน้ำท่วม ออกหน่วยแพทย์เคลื่อนที่ร่วมกับกรมฯ ค.ร. และกระทรวงสาธารณสุข สรุปผลการปฏิบัติงาน สถานการณ์น้ำ ร.พ.พระนั่งเกล้าฯ สรุปบทเรียนที่ได้ สถาบันบำราศนราดูรมีจุดแข็งเกี่ยวกับการบริการ กล่าวคือ การดูแลผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี การประสานงานกับเครือข่าย HIV/ AIDS มีระบบเทคโนโลยีเพื่อการติดต่อสื่อสารรองรับการปฏิบัติงาน มีระบบบริการส่งยาให้ผู้ป่วยในบางกรณีอยู่แล้ว โดยสถาบันฯใช้แผนเตรียมพร้อมรองรับการระบาดของโรคไข้หวัดใหญ่มาปรับใช้ การดูแลผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวี เจ้าหน้าที่มีทัศนคติที่ดีต่อผู้ป่วย ผู้ป่วยได้รับการเอาใจใส่ดูแลผู้ป่วยเสมือนญาติ ผู้ป่วยจึงมีความเชื่อมั่น และไว้วางใจในการปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ที่ให้การดูแล จึงต้องการมารับบริการมากกว่าสถานพยาบาลตามสิทธิการรักษา เพื่อหลีกเลี่ยงความเสี่ยงต่อการเปิดเผยตนเองกับสถานพยาบาลอื่น ระบบการประสานงานกับเครือข่าย HIV/ AIDS ภายในร่วมกับสหวิชาชีพมีการประสานข้อมูลในทีมดูแลผู้ป่วยระหว่าง แพทย์ พยาบาล นักสังคมสงเคราะห์ เภสัชกร เจ้าหน้าที่งานห้องฉุกเฉิน และเครือข่ายภายนอกกับองค์กรต่าง ๆ ในการดูแลผู้ป่วยร่วมกัน ได้แก่ สปสช. และองค์กรเอกชน (NGO เช่น AIDS Access ศูนย์ Mercy) ข้อเสนอแนะ ควรมีนโยบาย/แนวทางการบริหารจัดการยา /Stock ยา ในภาวะวิกฤตเป็นภาพรวมของระดับประเทศ และต้องสื่อสารให้ผู้เกี่ยวข้องทุกหน่วยสถานบริการสาธารณสุขเข้าใจและสามารถปฏิบัติได้ ควรมีการซ้อมแผนอย่างสม่ำเสมอ ควรมีหน่วยงานที่เป็นศูนย์กลางรับผิดชอบ แยกตามสิทธิ์การรักษาให้ชัดเจน เช่น สิทธิ UC ให้ สปสช. รับผิดชอบ, สิทธิประกันสังคมให้สำนักงานประกันสังคมรับผิดชอบ, สิทธิกรมบัญชีกลางใครรับผิดชอบ หรือจัดเป็นหน่วยงานกลางศูนย์เดียวดูแลทุกสิทธิของประเทศ ควรประสานงานกับระดับผู้บริหารของไปรษณีย์หรือหน่วยงานอื่นที่มีศักยภาพ จัดทำแนวทางการช่วยเหลือส่งยาให้ถึงมือผู้ป่วย กิตติกรรมประกาศ -แพทย์หญิงจริยา แสงสัจจา ผ.อ. สถาบันบำราศนราดูร นายแพทย์ ผ.อ. ร.พ. พระนั่งเกล้าฯ -แพทย์หญิงรุจนี สุนทรขจิต -คุณพรศิริ เรือนสว่าง หัวหน้าพยาบาล สถาบันบำราศนราดูร -คุณปราณี หัวหน้าพยาบาล ร.พ. พระนั่งเกล้าฯ -คุณสมจิต ทองแย้ม -คุณ กรุณา ลิ้มเจริญ และทีมอายุรกรรม -คุณศวิตา อิสสะอาด และทีมกุมารเวชกรรม -คุณลาวัลภ์ ฤกษ์งาม และทีมสูติ-นรีเวชกรรม -คุณนฤภัค บุญญฤทธิภัทร และทีมงานให้การปรึกษา -คุณสมคิด อังคศรีทองกุล และทีมเภสัชกร -และบุคลากรทุท่านที่ไม่ได้กล่าวนาม ผู้ป่วย และ NGO ที่ช่วยสนับสนุนบริการ ออกตรวจสถานการณ์น้ำ

2 สรุปผลการปฏิการ

3 ด้วยหัวใจของ สหวิชาชีพ


ดาวน์โหลด ppt วิธีการแก้ปัญหา วิเคราะห์ปัญหา “สร้างน้ำใจ สร้างชีวิต

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google