งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

โดย จิตวิญญาณของความเป็นครู เพื่อการบ่มเพาะลูกศิษย์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "โดย จิตวิญญาณของความเป็นครู เพื่อการบ่มเพาะลูกศิษย์"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 โดย จิตวิญญาณของความเป็นครู เพื่อการบ่มเพาะลูกศิษย์
ในการยึดมั่นในสิ่งที่ถูกต้องชอบธรรม รองศาสตราจารย์สุภาพ ณ นคร ผู้อำนวยการสำนักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดย สำนักวิชาศึกษาทั่วไป

2 มหาวิทยาลัยของเราคือ “ขอนแก่น” เป็นเหมือนแม้นโรงบ่มเพาะที่ยิ่งใหญ่
มหาวิทยาลัย : แหล่งบ่มเพาะที่ยิ่งใหญ่ มหาวิทยาลัยของเราคือ “ขอนแก่น” เป็นเหมือนแม้นโรงบ่มเพาะที่ยิ่งใหญ่ บ่มภูมิรู้ บ่มภูมิธรรม อันเกรียงไกร เพียงหวังให้ศิษย์ไทยเป็นคนดี เพราะคุณครูคือผู้สั่งสอนศิษย์ ครูคือมิตร คือ ผู้ให้ไม่หวงแหน ให้ความรัก ให้ความรู้ ให้แบบแปลน สิ่งตอบแทนคือความสุขความยินดี

3 แต่เพื่อรักเพื่อเมตตาเพื่อหน้าที่ เพื่อสร้างเสริมเติมแต่งคุณความดี
 หินทั้งแท่งยังแสร้งทำให้หวำโหว่ แกะสิงห์โตนั้นยากยิ่งเหลือแสน สอนให้คนเป็นคนดีแม้มีแปลน ยากเหลือแสนยิ่งกว่าแหวะแกะสิงห์โต แบบแปลนเรามิใช่เพื่อแกะสลัก แต่เพื่อรักเพื่อเมตตาเพื่อหน้าที่ เพื่อสร้างเสริมเติมแต่งคุณความดี ให้ผู้เรียนมีไว้ในใจตน สำนักวิชาศึกษาทั่วไป สำนักวิชาศึกษาทั่วไป

4 สำนักวิชาศึกษาทั่วไป
ปรัชญาของการศึกษา “All learning is in the learner, not in the teacher.” Plato, Phaedo 360 B.C. สำนักวิชาศึกษาทั่วไป

5 สำนักวิชาศึกษาทั่วไป

6 “อุดมศึกษาจะประสบผลก็ต่อเมื่อ สามารถทำให้ผู้ที่จบไปแล้ว
รู้ว่าตนเองยังไม่รู้ในสิ่งใด และเกิดความใฝ่รู้ตลอดชีวิต ที่จะแสวงหาความรู้เหล่านั้น” สำนักวิชาศึกษาทั่วไป

7 กระบวนการเรียนรู้ ท่องจำ ได้ยิน ได้ฟัง เข้าใจ วิเคราะห์ เชื่อมโยง
Information Knowledge Wisdom ท่องจำ ได้ยิน ได้ฟัง เข้าใจ วิเคราะห์ เชื่อมโยง สร้างสรรค์

8 จิตวิญญาณ นั้นประกอบด้วยหลายสิ่ง อาทิ สำนักวิชาศึกษาทั่วไป
 ความหมายของจิตวิญญาณ  จิตวิญญาณ นั้นประกอบด้วยหลายสิ่ง อาทิ  เนื้อแท้ความเป็นตัวตนของเรา พลังจิตใจภายใน อารมณ์ พลังชีวิต บุคลิกภาพ อำนาจ ศักดิ์ศรี ความรักสวยรักงาม ฯลฯ สำนักวิชาศึกษาทั่วไป

9

10

11 การยึดมั่นในสิ่งที่ถูกต้องชอบธรรม
โดย ศาสตราจารย์ธานินทร์ กรัยวิเชียร องคมนตรี สำนักวิชาศึกษาทั่วไป

12 สำนักวิชาศึกษาทั่วไป
ชาวอังกฤษถือว่าการเป็น “เด็กดี” สำคัญกว่าและต้องมาก่อนการเป็น “เด็กเก่ง” ดังนั้น เขาจึงฝึกอบรมเด็กตั้งแต่เข้าใจความด้วยคติธรรมง่ายๆ 7 ประการ คือ 1. สัจจะ พูดความจริง (TRUTH) 2. ความซื่อสัตย์สุจริต (HONESTY) 3. ความระลึกในหน้าที่ (SENSE OF DUTY) 4. ความอดกลั้น (PATIENCE) 5. ความเป็นธรรม (FAIR PLAY) 6. ความเอาใจเขามาใส่ใจเรา (CONSIDERATION FOR OTHERS) 7. เมตตาธรรม (KINDNESS) สำนักวิชาศึกษาทั่วไป สำนักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยขอนแก่น

13 สำนักวิชาศึกษาทั่วไป
ชาวอังกฤษได้รับการปลูกฝังคติธรรมทั้ง 7 ประการนี้มาตั้งแต่เด็กจนกระทั่งเป็นอุปนิสัยประจำชาติ และเมื่อบุคคลใดมีคติธรรมทั้ง 7 ประการ ครบถ้วน ก็ถือได้ว่าเป็นผู้ที่มี “INTERGRITY” อันเป็นคุณธรรมที่สูงส่งซึ่งถือเป็นหัวใจของคุณธรรมและจริยธรรมทั้งปวง สำนักวิชาศึกษาทั่วไป สำนักวิชาศึกษาทั่วไป มหาวิทยาลัยขอนแก่น

14 ในสังคมไทย ศาสตราจารย์ธานินทร์ กรัยวิเชียร (ผู้เขียน) ได้เพิ่มคติธรรมอีก 5 ประการ เพื่อให้เหมาะสมกับวัฒนธรรมอันดี และสภาพของสังคมไทย คือ 8. ความกตัญญูกตเวที (GRATITUDE) 9. ความสุภาพนุ่มนวล (POLITENESS) 10.ความคารวะต่อผู้มีอาวุโส (RESPECT FOR ELDERS) 11. รักษาคำพูด (PROMISS) 12. จิตสำนึกสาธารณะ เสียสละเพื่อส่วนรวม (PUBLIC CONSCIENCE)

15 สำนักวิชาศึกษาทั่วไป
ศาสตราจารย์ สตีเฟน แอล คาร์เตอร์ แห่งมหาวิทยาลัยเยล สหรัฐอเมริกา ได้ให้ข้อเสนอว่า บุคคลใดจะได้ชื่อว่าเป็นผู้มี “INTEGRITY” บุคคลนั้นจะต้องปฏิบัติครบถ้วน 3 ขั้นตอน คือ 1. พินิจพิเคราะห์แยกแยะว่าสิ่งใดเป็นสิ่งที่ถูกต้องหรือ สิ่งใดเป็นสิ่งที่ผิดให้กระจ่างชัด 2. ปฏิบัติตามสิ่งที่ตนเชื่อว่าถูกต้องอย่างเคร่งครัด แม้ จะทำให้ตนลำบากหรือเสียผลประโยชน์ก็ตาม 3. ประกาศให้ผู้อื่นได้ทราบโดยทั่วกันว่าตนได้ปฏิบัติ ไปเช่นนั้นโดยได้พินิจพิเคราะห์แยกแยะว่าเป็นสิ่งที่ ถูกต้องแล้ว สำนักวิชาศึกษาทั่วไป

16 สำนักวิชาศึกษาทั่วไป
ปรัชญาของการศึกษา “All learning is in the learner, not in the teacher.” จิตวิญญาณของความเป็นครู : บทบาทในการหล่อหลอมให้ลูกศิษย์ เป็นคนดี ผู้เขียนได้เสนอแนะมาตรการต่างๆที่จะนำมาเสริมมาตรการทางกฎหมาย ดังนี้ สำนักวิชาศึกษาทั่วไป

17 สำนักวิชาศึกษาทั่วไป
1. มาตรการแก้ไขจิตใจด้วย “หิริโอตตัปปะ” และ “กฎแห่งกรรม” ปัญหาความเสื่อมโทรมทางจิตใจเป็น “กิเลส” ของตัวบุคคล เราจึงควรมุ่งแก้ไขที่เรื่องของจิตใจเป็นสำคัญว่า ทำอย่างไรจึงจะทำให้คนมีหิริโอตตัปปะหรือมีความละอายต่อการกระทำชั่วและเกรงกลัวต่อบาป ซึ่งจะทำให้เขาไม่กล้าที่จะทำในสิ่งที่ไม่ถูกต้องชอบธรรม สำนักวิชาศึกษาทั่วไป

18 สำนักวิชาศึกษาทั่วไป
2. การปลูกฝังและปลุกจิตสำนึกสาธารณะ (PUBLIC CONSCIENCE) นอกจากทำให้ประชาชนมีหิริโอตตัปปะอันจะทำให้เขาไม่กล้าที่จะทำความชั่วแล้ว เรายังจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องสร้างให้ประชาชนในชาติมีจิตสำนึกสาธารณะที่จะเสียสละเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม โดยการ “ปลูกฝังจิตสำนึกสาธารณะ” ในเยาวชนและ “ปลุกจิตสำนึกสาธารณะ” ในตัวผู้ใหญ่ไปพร้อมกับกระตุ้นและรบเร้าให้ประชาชนเห็นความจำเป็นที่จะต้องเข้ามามีส่วนมีเสียงในส่วนได้ส่วนเสียของบ้านเมือง สำนักวิชาศึกษาทั่วไป

19 สำนักวิชาศึกษาทั่วไป
3. กระบวนการร่อนทอง (A CLEANSING PROCESS) “ร่อน” ความรู้สึกนึกคิดและพฤติกรรมอันไม่พึงปรารถนาให้หลุดร่วงลงไป และสร้างความดีงามขึ้นเป็นลำดับเปรียบเสมือนการร่อนทองที่ต้องค่อยๆคัดกรองเอาเศษหินเศษดินออก ค่อยๆร่อนจนกระทั่งได้ทองคำที่มีความบริสุทธิ์จริงๆ สำนักวิชาศึกษาทั่วไป

20 สำนักวิชาศึกษาทั่วไป
4. การผนึกกำลังกันในหมู่ประกอบวิชาชีพ เดียวกัน (PROFESSIONAL SOLIDARITY) การผนึกกำลังกันนี้นับเป็นมาตรการที่สำคัญที่สุดประการหนึ่งที่จะพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งคุณธรรมและจริยธรรมในสังคมให้ยั่งยืนสืบไป สำนักวิชาศึกษาทั่วไป

21 สำนักวิชาศึกษาทั่วไป
ถึงเวลาแล้วที่พวกเราชาวมหาวิทยาลัยขอนแก่นต้องผนึกกำลังกันในการเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ลูกศิษย์ และพร้อมที่จะบากบั่น และกระทำสิ่งที่เราทราบว่าเป็นความดี เป็นความถูกต้อง และเป็นธรรม ถ้าเราร่วมกันทำเช่นนี้ให้ได้จริงๆ ให้ผลของความดีบังเกิดมากๆขึ้น ก็จะช่วยค้ำจุนส่วนรวมไว้มิให้เสื่อมลงไป และจะช่วยให้ฟื้นคืนดีได้เป็นลำดับ สำนักวิชาศึกษาทั่วไป

22 สวัสดีค่ะ


ดาวน์โหลด ppt โดย จิตวิญญาณของความเป็นครู เพื่อการบ่มเพาะลูกศิษย์

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google