งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

ดำเนินงานแผนการจัดการความรู้กระทรวงพลังงาน ประจำปีงบประมาณ 2553

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "ดำเนินงานแผนการจัดการความรู้กระทรวงพลังงาน ประจำปีงบประมาณ 2553"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 ดำเนินงานแผนการจัดการความรู้กระทรวงพลังงาน ประจำปีงบประมาณ 2553
สรุปผลการ ดำเนินงานแผนการจัดการความรู้กระทรวงพลังงาน ประจำปีงบประมาณ 2553

2 แผนการดำเนินการจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ 2553
กิจกรรม/กระบวนการ ปีงบประมาณ 2553 สถานะ มค กพ มีค เมย พค มิย กค สค กย 1. จัดตั้งคณะทำงานการจัดการความรู้กระทรวงพลังงาน X Y 2. ประชุมฯ ชี้แจงหลักเกณฑ์การประเมิน /การคัดเลือก 3. การจัดทำแผนฯ/ CKO, CEO ลงนามเห็นชอบแผน 4. ดำเนินงานตามกระบวนการจัดการความรู้ และบริหารการเปลี่ยนแปลง 1. การบ่งชี้ความรู้  การเตรียมปรับเปลี่ยน พฤติกรรม 2. การสร้างและ แสวงหาความรู้ การสื่อสาร 3. การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ  กระบวนการ และเครื่องมือ 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้  การฝึกอบรม และเรียนรู้ 5. การเข้าถึงความรู้  การวัดผล 6. การแบ่งปัน แลกเปลี่ยนความรู้  การยกย่องชมเชย และการให้รางวัล 7. การเรียนรู้ (Learning) 5. จัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามแผนจัดการความรู้ 6. ติดตามความก้าวหน้าอย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี

3 ผลการดำเนินงานตามเกณฑ์ ADLI
ประเด็นพิจารณา ประเด็นการตรวจ ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนัก สถานะ แสดงแผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan) อย่างน้อย 3 องค์ความรู้ ตามแนวทางที่กำหนด (A) 1. มีการทบทวนองค์ความรู้ที่สอดรับกับประเด็นยุทธศาสตร์ 0.025 Y 2. มีรายการองค์ความรู้ที่มาจากการรวบรวมถ่ายทอดจากบุคลากรภายใน / ภายนอกองค์กร 3. มีรายการองค์ความรู้ เพื่อสนับสนุน/สามารถตอบรับประเด็นยุทธศาสตร์ ครบ ทุกประเด็นยุทธศาสตร์ 0.05 4. มีการจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ของส่วนราชการ 0.03 5. เลือกองค์ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย 3 องค์ความรู้ จาก 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ แตกต่างกันพร้อมระบุเหตุผล หรือความเหมาะสมในการเลือกองค์ความรู้ 0.09 6. กำหนดเกณฑ์การวัดผลสำเร็จโดยเลือกตัวชี้วัด (KPI) ตามคำรับรองฯ หรือตัวชี้วัด (KPI) อื่น ๆ ที่สามารถสะท้อนผลลัพธ์ของแผนการจัดการความรู้ 0.12 7. มีการจัดทำ แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan ) โดยมีรายละเอียดกิจกรรมการ จัดการความรู้ต่าง ๆ ตามขั้นตอนการจัดการความรู้ครอบคลุมทั้ง 7 ขั้นตอน ในทั้ง 3 แผน 8. มีกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง ครบทั้ง 6 องค์ประกอบมาบูรณาการร่วมกัน(พิจารณาจากตาราง Matrix ตามแนวทางการจัดการความรู้ปี 50 9. มีกิจกรรมยกย่องชมเชย (CMP องค์ประกอบที่ 6) แสดงให้เห็นชัดเจนเป็นรูปธรรม (เพิ่มเป็นกิจกรรมที่ 8 ในแบบฟอร์มที่ 2) 0.01 10. มีการลงนามเห็นชอบ การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็น ยุทธศาสตร์จากผู้บริหารสูงสุดของส่วนราชการ (CEO)/หรือผู้บริหารที่ได้รับการมอบอำนาจฯ และผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ (CKO)/หรือผู้บริหารที่ได้รับการมอบอำนาจฯ 0.04 11. มีการลงนามเห็นชอบ แผนการจัดการความรู้ จากผู้บริหารสูงสุดของส่วนราชการ (CEO) / หรือผู้บริหารที่ได้รับการมอบอำนาจฯ และผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการ ความรู้ (CKO)/หรือผู้บริหารที่ได้รับการมอบ อำนาจฯ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม

4 ผลการดำเนินงานตามเกณฑ์ ADLI
ประเด็นพิจารณา ประเด็นการตรวจ ค่าคะแนนถ่วงน้ำหนัก สถานะ รายงานผลการดำเนินงานตามแผน โดยดำเนินกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้ ได้สำเร็จครบถ้วนทุกกิจกรรมและสามารถดำเนินการที่ครอบคลุมเป้าหมายได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ในทุกกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ระบุไว้ (D) สามารถดำเนินการได้แล้วเสร็จ ครบถ้วน ทุกกิจกรรมที่กำหนดในแผน KM ครบทั้ง 3 แผน 0.2 Y รายงานผลการดำเนินงานตามแผน โดยดำเนินกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้ ได้สำเร็จครบถ้วนทุกกิจกรรมและสามารถดำเนินการที่ครอบคลุมเป้าหมายได้ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ในทุกกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ที่ระบุไว้ (D) ทุกกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้มีผลการดำเนินการครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ครบทั้ง 3 แผน 0.1 มีรายงานผลการติดตามความก้าวหน้าทุกครั้งตามที่ระบุในกรอบระยะเวลาการติดตามประเมินผลการดำเนินงานของกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้และต้องไม่น้อยกว่า 2 ครั้งต่อปี โดยมีช่วงห่างของระยะเวลาในการติดตามแต่ละครั้งที่เหมาะสม

5 รายชื่อองค์ความรู้กระทรวงพลังงานในปีงบประมาณ พ.ศ. 2551-2552
A1. มีการทบทวนองค์ความรู้ที่สอดรับกับประเด็นยุทธศาสตร์ รายชื่อองค์ความรู้กระทรวงพลังงานในปีงบประมาณ พ.ศ 2551 2552 K1. การบริหารจัดการข้อมูลเชื้อเพลิงธรรมชาติ (1/ชธ) K1: การสร้างฐานความรู้เกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียร์ในประเทศไทย (3/สนพ.) K2. การประเมินศักยภาพปิโตรเลียม (Petroleum exploration target in Northeastern Thailand) (1/ชธ) K2: การใช้ก๊าซปิโตรเลียมเหลวอย่างปลอดภัย (2/ธพ.) K3. ความรู้เกี่ยวกับการสื่อสารและการถ่ายทอดความรู้ภายในและภายนอกอย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงาน (4/พพ.) K3: ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีด้านพลังงานทดแทน (3/พพ.) K4. ความรู้เกี่ยวกับการบริหารงานด้านอนุรักษ์พลังงานตามหลักการเศรษฐกิจพอเพียง (4/พพ.) K5. ความรู้เกี่ยวกับการบริหารโครงการด้านพลังงานทดแทน (3/พพ.) K6. ความรู้เกี่ยวกับการบริหารงานด้านพลังงานทดแทนตามหลักการเศรษฐกิจพอเพียง (3/พพ.) หมายเหตุ : ประเด็นยุทธศาสตร์กระทรวงพลังงาน (1) เสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน (2) ส่งเสริมให้มีการกำกับดูแลกิจการพลังงานให้มีราคาที่เป็นธรรมส่งเสริมให้เกิดการแข่งขัน รวมทั้งคุ้มครองด้านความปลอดภัยให้แก่ผู้บริโภค (3) ส่งเสริม วิจัย พัฒนาพลังงานทดแทน (4) ส่งเสริมการอนุรักษ์และประหยัดพลังงานอย่างจริงจังและต่อเนื่อง (5) ส่งเสริมการพัฒนา ผลิต และใช้พลังงานควบคู่ไปกับการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม 5

6 A1. มีการทบทวนองค์ความรู้ที่สอดรับกับประเด็นยุทธศาสตร์ (ต่อ)
กระบวนการทบทวนองค์ความรู้ที่สอดรับกับประเด็นยุทธศาสตร์ ปีงบประมาณ 2553 จัดประชุมคณะทำงานฯ KM พน. 1. เป็นองค์ความรู้ที่จำเป็นพื้นฐานทั่วไปที่เจ้าหน้าที่ พน. ประชาชน ผู้ที่เกี่ยวข้องควรรับรู้ 2. เป็นองค์ความรู้ตามสถานการณ์ที่จำเป็นที่ส่งผลกระทบต่อการวางแผนการกำหนด นโยบายด้านพลังงานของประเทศ 3. เป็นองค์ความรู้ที่สนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์ และเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงาน พน. ครั้งที่ 1 (18 ม.ค. 2553) และ ครั้งที่ 2 (15 ก.พ. 53) องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการตามประเด็นยุทธศาสตร์ จำนวน 11 องค์ความรู้ ประเด็นยุทธศาสตร์กระทรวง องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการตามประเด็นยุทธศาสตร์ หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ 1. เสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน KM 1: การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ของประเทศไทย KM 2: การจัดทำแผนพัฒนากำลังการผลิตไฟฟ้าของประเทศไทย (PDP) สนพ. 2.ส่งเสริมให้มีการกำกับดูแลฯ ความรู้เกี่ยวกับก๊าซปิโตรเลียมเหลว (ดำเนินงานในระดับกรม) ธพ. 3. ส่งเสริม วิจัย พัฒนาพลังงานทดแทน KM 3: การส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน KM 4: การจัดการพลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ พพ. KM 5: ความรู้เกี่ยวกับก๊าซธรรมชาติ (NG) KM 6: ความรู้เกี่ยวกับน้ำมันแก๊สโซฮอล์และไบโอดีเซล 4. ส่งเสริมการอนุรักษ์และประหยัดพลังงานอย่างจริงจังและต่อเนื่อง KM 7: การแปลงสภาพเทคโนโลยีการแปลงสภาพชีวมวล (Biomass Conversion) KM 8: เทคโนโลยีระบบผลิตก๊าซชีวภาพจากฟาร์มปศุสัตว์ สป.พน. 5. ส่งเสริมการพัฒนา ผลิต และ ใช้พลังงานควบคู่ไปกับกาดูแล รักษาสิ่งแวดล้อม KM 9: พลังงานผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก KM 10: โครงการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ชธ. (การบริหารจัดการภายในองค์กร) KM 11: ผลประโยชน์ของรัฐที่ได้รับจากการประกอบกิจการปิโตรเลียม 6

7 องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการ พน. ปี 53 จำนวน 6 องค์ความรู้
A1. มีการทบทวนองค์ความรู้ที่สอดรับกับประเด็นยุทธศาสตร์ (ต่อ) องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการ พน. ปี 53 จำนวน 6 องค์ความรู้ ประเด็นยุทธศาสตร์กระทรวงฯ รายชื่อองค์ความรู้ ผู้รับ ผิดชอบ 1. เสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน KM 1: การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ของประเทศไทย สนพ. 3. ส่งเสริม วิจัย พัฒนาพลังงานทดแทน KM2 : เทคโนโลยีการแปลงสภาพชีวมวล (Biomass Conversion) สป.พน. KM 3: ความรู้เกี่ยวกับน้ำมันแก๊สโซฮอล์และไบโอดีเซล ธพ. 4. ส่งเสริมการอนุรักษ์และประหยัดพลังงานอย่างจริงจังและ ต่อเนื่อง KM 4: องค์ความรู้เกี่ยวกับโครงการส่งเสริมเครื่องจักรอุปกรณ์ ประสิทธิภาพสูงและวัสดุอุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน พพ. 5. ส่งเสริมการพัฒนา ผลิต และใช้พลังงานควบคู่ไปกับการดูแล รักษาสิ่งแวดล้อม KM 5: พลังงานผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก KM 6: รายได้จากการประกอบกิจการปิโตรเลียม ตามกฎหมายว่าด้วย ปิโตรเลียม ชธ.

8 A1. มีการทบทวนองค์ความรู้ที่สอดรับกับประเด็นยุทธศาสตร์ (ต่อ)
เหตุผลที่เลือก ประเด็นยุทธศาสตร์กระทรวง องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการตามประเด็นยุทธศาสตร์ หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ 1. เสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน KM 1: การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ของประเทศไทย (1) เหตุผลที่เลือก การก่อสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์เป็นโครงการวางแผนระยะยาว จึงควรมีการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งโครงการนี้ สนพ. ได้คัดเลือกเป็นองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการในปีที่ผ่านมา โดยในปีงบประมาณนี้ สนพ. ได้นำเสนอประเด็นความก้าวหน้าผลการศึกษาและการเตรียมความพร้อมด้านโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการผลิตไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ของปีที่ 2 ของการศึกษา ( ) ถ้าหากเจ้าหน้าที่ในกระทรวงพลังงานส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรงไฟฟ้าที่ใช้พลังงานนิวเคลียร์ ทำให้ไม่สามารถสร้างความรู้ความเข้าใจและทัศนคติที่ดีในการสร้างโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์แก่ประชาชน สนพ. 3. ส่งเสริม วิจัย พัฒนาพลังงานทดแทน KM2: เทคโนโลยีการแปลงสภาพชีวมวล (Biomass Conversion) (2) เหตุผลที่เลือก กลุ่มเป้าหมายสามารถนำองค์รู้นี้ไปใช้ประโยชน์ ได้หลายกลุ่ม สป.พน. KM 3: ความรู้เกี่ยวกับน้ำมันแก๊สโซฮอล์และไบโอดีเซล (3) เหตุผลที่เลือก เพื่อเป็นการประชาสัมพันธ์ และสร้างความรู้ความเข้าใจด้านการกำหนดนโยบายและแผน มาตรการ ชนิด และคุณภาพน้ำมันแก๊สโซฮอล์ และไบโอดีเซลในอนาคต ธพ.

9 องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการตามประเด็นยุทธศาสตร์
A1. มีการทบทวนองค์ความรู้ที่สอดรับกับประเด็นยุทธศาสตร์ (ต่อ) เหตุผลที่เลือก ประเด็นยุทธศาสตร์ พน. องค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการปฏิบัติราชการตามประเด็นยุทธศาสตร์ หน่วยงาน ที่รับผิดชอบ 4. ส่งเสริมการอนุรักษ์และประหยัดพลังงานอย่างจริงจังและต่อเนื่อง KM 4: องค์ความรู้การส่งเสริมเครื่องจักรอุปกรณ์ประสิทธิภาพสูงและวัสดุอุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน เหตุผลที่เลือก เพื่อให้เจ้าหน้าที่สังกัดกระทรวงพลังงานและประชาชนได้รับข้อมูลและได้รับการส่งเสริมการผลิตและจำหน่ายอุปกรณ์เครื่องจักร อุปกรณ์ประสิทธิภาพสูงและวัสดุอุปกรณ์การอนุรักษ์พลังงานที่ได้มีการติดฉลากแล้ว เพื่อส่งเสริมและประชาสัมพันธ์ฉลากประสิทธิภาพสูงและเข้าถึงข้อมูลอย่างถูกต้อง รวมทั้งการจำหน่ายผลิตภัณฑ์ประสิทธิภาพสูงเพื่อปลูกจิตสำนึกในการเลือกซื้อผลิตภัณฑ์ประสิทธิภาพสูง พพ. 5. ส่งเสริมการพัฒนา ผลิต และใช้พลังงานควบคู่ไปกับการดูแล รักษาสิ่งแวดล้อม KM 5: พลังงานผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก (4) - เป็นวัตถุประสงค์ของกระทรวงพลังงาน - เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่เจ้าหน้าที่ในกระทรวงพลังงานด้านผลกระทบต่อการ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก และนำองค์ความรู้นี้ไปเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ต่อไป สป.พน. KM 6: ผลประโยชน์ของรัฐที่ได้รับจากการประกอบกิจการปิโตรเลียม (5) - เป็นการประชาสัมพันธ์ให้ความรู้ให้แก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่กระทรวงพลังงาน ด้านการ จัดเก็บผลประโยชน์ของรัฐจากกิจการปิโตรเลียมเกี่ยวกับค่าภาคหลวง ภาษีเงินได้และ ผลประโยชน์ตอบแทนพิเศษ - เพื่อลดการต่อต้านธุรกิจปิโตรเลียมจากประชาชนในพื้นที่ ชธ.

10 A2. มีรายการองค์ความรู้ที่มาจากการรวบรวมถ่ายทอดจากบุคลากรภายใน/ภายนอกองค์กร
(KM1-สนพ.) การรวบรวมองค์ความรู้ด้านการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ของประเทศไทย บุคลากรภายนอก กระทรวง บุคลากรภายในกระทรวง สำนักงานปรมาณูเพื่อสันติ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ สำนักงานอัยการสูงสุด กระทรวงการต่างประเทศ สถาบันเทคโนโลยีนิวเคลียร์แห่งชาติ ผู้เชี่ยวชาญจาก IAEA เว็ปโซต์ต่าง ๆ สำนักพัฒนาโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน สำนักงานปลัด กระทรวงพลังงาน การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย ผลการประชุมของคณะอนุกรรมการคณะต่าง ๆ ระบบกฎหมาย ระบบกำกับ และข้อผูกพันระหว่างประเทศ โครงสร้างพื้นฐานด้านอุตสาหกรรมและการพาณิชย์ การพัฒนาและถ่ายทอดเทคโนโลยี และการพัฒนากำลังคน ความปลอดภัยและการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม การสื่อสารสาธารณะและการยอมรับของประชาชน การเตรียมการจัดตั้งโรงไฟฟ้านิวเคลียร์

11 (KM2-สป.พน) การรวบรวมองค์ความรู้ด้านเทคโนโลยีการแปลงสภาพชีวมวล (Biomass Conversion)
แหล่งภายในกระทรวง แหล่งภายนอก กระทรวง สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม สถาบันวิจัยพลังงาน  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น) กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน สำนักงานปลัด กระทรวงพลังงาน หนังสือ และเอกสารพร้อมทั้งบทความบน WWW. ชีวมวล ความหมายและคุณสมบัติ กระบวนการแปลงสภาพ การผลิตเอทานอล และน้ำมันชีวภาพ การผลิตก๊าซชีวภาพและก๊าซไฮโดรเจน C-11

12 (KM3-ธพ.) การรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับน้ำมันแก๊สโซฮอล์และไบโอดีเซล
บุคลากรภายนอก กระทรวง บุคลากรภายในกระทรวง สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่ง ประเทศไทย คณะกรรมาธิการพลังงาน สภาผู้แทนราษฎร สมาคมอุตสาหกรรมยานยนต์ไทย สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ผู้ผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพ อื่นๆ สำนักงานปลัดกระทรวงพลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน กรมธุรกิจพลังงาน บริษัท บางจากปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) บริษัท ปตท.จำกัด (มหาชน) องค์ความรู้เกี่ยวกับน้ำมันแก๊สโซฮอล์และไบโอดีเซล นโยบายและมาตรการการส่งเสริมเชื้อเพลิงชีวภาพ เทคโนโลยีการผลิตและสถานการณ์การใช้วัตถุดิบในการผลิต การกำหนดมาตรฐานและควบคุมคุณภาพเชื้อเพลิง การจำหน่ายน้ำมันแก๊สโซฮอล์และน้ำมันดีเซล( B3 และ B5) การเลือกใช้น้ำมันเชื้อเพลิงให้ตรงกับความต้องการยานยนต์ อื่นๆ C-12 12

13 บุคลากรภายนอกกระทรวง ผลการประชุมดำเนินงาน
(KM 4-พพ.) การรวบรวมองค์ความรู้ด้านการส่งเสริมเครื่องจักรประสิทธิภาพสูง บุคลากรภายนอกกระทรวง บุคลากรภายในกระทรวง สถานประกอบการผลิตและจำหน่ายเครื่องจักรอุปกรณ์ ประสิทธิภาพสูงและวัสดุอุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน กลุ่มผู้บริโภคเป้าหมาย กลุ่มร้านค้าผู้จำหน่ายผลิตภัณฑ์ประหยัดพลังงาน มหาวิทยาลัยพระจอมเกล้า ธนบุรี มหาวิทยาลัยมหิดล - สำนักส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน กรมพัฒนาพลังงานฯ (พพ.) สำนักงานปลัดกระทรวงพลังงาน สำนักนโยบายและแผนพลังงาน ผลการประชุมดำเนินงาน 1. การส่งเสริมผู้ผลิตเตาหุงต้มในครัวเรือนใช้กับก๊าซปิโตรเลียมเหลว 2. การส่งเสริมผู้ผลิตอุปกรณ์ปรับความเร็วรอบมอเตอร์ 3. การส่งเสริมผู้ผลิตกระจก 4. การส่งเสริมผู้ผลิตฉนวนใยแก้ว C-13 13 13

14 (KM5-สป.พน) การรวบรวมองค์ความรู้ด้านพลังงานผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศของโลก (Global Warming) แหล่งภายนอก กระทรวง แหล่งภายในกระทรวง สถาบันวิจัยและพัฒนาพลังงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มูลนิธิพลังงานเพื่อสิ่งแวดล้อม สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม หนังสือ AN INCONVENIENT TRUTH , OUR CHOICE ของนายอัล กอร์ กรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน สำนักงานปลัด กระทรวงพลังงาน หนังสือ และเอกสารพร้อมทั้งข้อความบน WWW. ภาวะโลกร้อน ความหมายและรายละเอียด ปัจจัยที่ผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ แนวทางการลดผลกระทบการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ IPUCC C-14

15 กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ
(KM6-ชธ) การรวบรวมองค์ความรู้ในเรื่อง รายได้จากการประกอบกิจการปิโตรเลียมตามกฎหมาย ว่าด้วยปิโตรเลียม แหล่งภายใน กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ แหล่งภายนอก กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ สำนักบริหารสัมปทานปิโตรเลียม สำนักเทคโนโลยีการประกอบกิจการปิโตรเลียม กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น พระราชบัญญัติปิโตรเลียม พ.ศ.2514 และแก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 4) พ.ศ.2532 กฏกระทรวง ประกาศกรมทรัพยากรธรณี ออกตามความในพระราชบัญญัติปิโตรเลียม ประกาศกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ โปรแกรม AXAPTA ฐานข้อมูลการลงทุนและรายได้จากการประกอบกิจการปิโตรเลียม ข้อมูลเขตการปกครองส่วนท้องถิ่น C-15 15

16 A3. มีรายการองค์ความรู้ เพื่อสนับสนุน/สามารถตอบรับประเด็นยุทธศาสตร์
ครบทุกประเด็นยุทธศาสตร์ A4. มีการจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์ ของส่วนราชการ ประเด็นยุทธศาสตร์ กระทรวง รายชื่อองค์ความรู้ ผู้รับ ผิดชอบ 1. เสริมสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน KM 1: การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ของประเทศไทย สนพ. 2. ส่งเสริมให้มีการกำกับดูแล กิจการฯ ความรู้เกี่ยวกับก๊าซปิโตรเลียมเหลว (ดำเนินงานในระดับกรม) ธพ. 3. ส่งเสริม วิจัย พัฒนาพลังงานทดแทน KM2 : เทคโนโลยีการแปลงสภาพชีวมวล (Biomass Conversion) สป.พน. KM 3: ความรู้เกี่ยวกับน้ำมันแก๊สโซฮอล์และไบโอดีเซล 4. ส่งเสริมการอนุรักษ์และประหยัดพลังงานอย่างจริงจังและ ต่อเนื่อง KM 4: องค์ความรู้เกี่ยวกับโครงการส่งเสริมเครื่องจักรอุปกรณ์ ประสิทธิภาพสูงและวัสดุอุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน พพ. 5. ส่งเสริมการพัฒนา ผลิต และใช้พลังงานควบคู่ไปกับการดูแล รักษาสิ่งแวดล้อม KM 5: พลังงานผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก KM 6: รายได้จากการประกอบกิจการปิโตรเลียม ตามกฎหมายว่าด้วย ปิโตรเลียม ชธ.

17 กำหนดเกณฑ์การวัดผลสำเร็จ (KM ที่สนับสนุน KPI ตามคำรับรองฯ)
A6. กำหนดเกณฑ์การวัดผลสำเร็จโดยเลือกตัวชี้วัด (KPI) ตามคำรับรองฯ หรือตัวชี้วัด (KPI) อื่น ๆ ที่สามารถสะท้อนผลลัพธ์ของแผนการจัดการความรู้ รายชื่อองค์ความรู้ กำหนดเกณฑ์การวัดผลสำเร็จ (KM ที่สนับสนุน KPI ตามคำรับรองฯ) เป้าหมาย KPI KM 1: การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ของประเทศไทย KPI : : ระดับความสำเร็จของการสร้างฐานความรู้เกี่ยวกับพลังงานนิวเคลียร์ในประเทศไทย ระดับ 3 KM2 : เทคโนโลยีการแปลงสภาพชีวมวล (Biomass Conversion) KPI : : ระดับความสำเร็จด้านการผลิตความร้อนที่เพิ่มขึ้นจากพลังงานทดแทน KM 3: ความรู้เกี่ยวกับน้ำมันแก๊สโซฮอล์และไบโอดีเซล KPI : และ : ระดับความสำเร็จของการสร้างฐานความรู้เกี่ยวกับน้ำมันแก๊สโซฮอล์และไบโอดีเซล KM 4: องค์ความรู้เกี่ยวกับโครงการส่งเสริมเครื่องจักร อุปกรณ์ ประสิทธิภาพสูงและวัสดุ อุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน KPI : : ประสิทธิภาพในการใช้พลังงานภาพรวมของประเทศ   Energy Intensity KM 5: พลังงานผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศของโลก KPI : - ระดับความสำเร็จของการจัดทำศูนย์ความรู้ทางวิชาการ KM 6: รายได้จากการประกอบกิจการปิโตรเลียม ตามกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียม KPI : - บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง รายได้จากการประกอบกิจการปิโตรเลียมตามกฏหมายว่าด้วยปิโตรเลียมมากขึ้น

18 หลักฐานตามเอกสารแผนการจัดการความรู้ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553
A7. มีการจัดทำ แผนการจัดการความรู้ (KM Action Plan ) โดยมีรายละเอียด กิจกรรมการ จัดการความรู้ต่าง ๆ ตามขั้นตอนการจัดการความรู้ครอบคลุม ทั้ง 7 ขั้นตอน ในทั้ง 3 แผน กิจกรรม/กระบวนการ ผลการดำเนินงาน 4. ดำเนินงานตามกระบวนการจัดการความรู้ และบริหารการเปลี่ยนแปลง กระบวนการจัดการความรู้ กระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง 1. การบ่งชี้ความรู้  การเตรียมปรับเปลี่ยนพฤติกรรม Y 2. การสร้างและ แสวงหาความรู้ การสื่อสาร 3. การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ  กระบวนการ และเครื่องมือ 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้  การฝึกอบรมและเรียนรู้ 5. การเข้าถึงความรู้  การวัดผล 6. การแบ่งปัน แลกเปลี่ยนความรู้  การยกย่องชมเชย และการให้รางวัล 7. การเรียนรู้ (Learning) หลักฐานตามเอกสารแผนการจัดการความรู้ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

19 A8. มีกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง ครบทั้ง 6 องค์ประกอบมาบูรณาการ
ร่วมกัน (พิจารณาจากตาราง Matrix ตามแนวทางการจัดการความรู้ปี 50) CMP KMP 1. การเตรียมการและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 2. การสื่อสาร 3. กระบวนการและเครื่องมือ 4. การเรียนรู้ 5. การวัดผล 6. การยกย่องชมเชยและการให้รางวัล การบ่งชี้ความรู้ - แต่งตั้งคณะทำงานจัดการความรู้ของกระทรวงพลังงาน ประจำปีงบประมาณ 2553 ขึ้นโดยมีรองปลัดกระทรวงพลังงาน (นายเมตตา บันเทิงสุข) ในฐานะ CKO พน. เป็นประธานคณะทำงานฯ - กำหนดการประชุมคณะทำงานจัดทำแผนและติดตามความก้าวหน้า - กำหนดแผนจัดการความรู้ 5 ขั้นตอน สรุปผลการดำเนินงานตามกระบวนการจัดการความรู้ครบทั้ง 7 กระบวนการ ว่ามีความรู้ ความเข้าใจองค์ความรู้ที่ พน.ดำเนินการมากน้อยเพียงใด โดยแจกแบบสอบถาม 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ คณะทำงาน KM พน นำแนวทางด้านการจัดการความรู้ใน ปี ไปหารือ CKO ของหน่วยงาน และจัดตั้งคณะทำงานย่อย เพื่อดำเนินงานตามแผน KM ประชุมคณะทำงานฯ เวปไซด์ต่าง ๆ การรวบรวมเอกสารจากหน่วยงานต่าง ๆ 3. การจัดความรู้ให้เป็นระบบ - ดัชนีหมวดหมู่เพื่อความสะดวกในการค้นหา - ระบบห้องสมุด 4. การประมวลและกลั่นกรองความรู้ นำคู่มือ/เอกสารองค์ความรู้ CD ,Power-point ลงเวปไซด์ ดูรายละเอียดได้จากรายงานผลการดำเนินงานตามแผนจัดการความรู้ ในขั้นตอนที่ 5

20 3. กระบวนการและเครื่องมือ 6. การยกย่องชมเชยและการให้รางวัล
A8. มีกระบวนการบริหารการเปลี่ยนแปลง ครบทั้ง 6 องค์ประกอบมาบูรณาการ ร่วมกัน (พิจารณาจากตาราง Matrix ตามแนวทางการจัดการความรู้ปี 50) CMP KMP 1. การเตรียมการ 2. การสื่อสาร 3. กระบวนการและเครื่องมือ 4. การเรียนรู้ 5. การวัดผล 6. การยกย่องชมเชยและการให้รางวัล 5. การเข้าถึงความรู้ - เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่าน Internet เพื่อเป็นช่องทางการแลกเปลี่ยนความรู้ - ประชาสัมพันธ์ให้เข้าถึงความรู้ที่ต้องการได้ง่ายและสะดวก เช่น ลงหนังสือพิมพ์ - การจัดทำเอกสารเผยแพร่ - จัดเก็บ/จัดทำแผนที่ในคลังความรู้ - จัดทำคู่มือการใช้งานฐานข้อมูล - ประชุมสัมมนา จนท. ชี้แจงการใช้ คู่มือ 6. การแบ่งปันแลกเปลี่ยนความรู้ -การจัดทำหนังสือเวียน - การจัดบอร์ดประชาสัมพันธ์ - Internet - ทำหนังสือเชิญเจ้าหน้าที่กระทรวงพลังงานเข้าร่วมสัมมนา การจัดสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการรณรงค์ให้ความรู้ - การจัดเสวนาทางวิชาการเพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนความรู้ - การจัดสัมมนาเพื่อเสริมสร้างความรู้เกี่ยวกับการจัดการความรู้ให้ผู้บริหารสำนักงาน KM Team เจ้าหน้าที่ มีแบบสอบถาม หรือ การสอบถามในการ สัมมนาฯ 2. มีการประผลการตาม แผนการจัดการความรู้ จัดการความรู้ปี 2553 3. กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วม กิจกรรมไม่น้อยกว่า ร้อยละ 90 7. การเรียนรู้ แจกคู่มือการจัดการความรู้เพื่อนำไปใช้ในการปฏิบัติงาน หรือเป็นแนวทางการ ศึกษาวิเคราะห์ต่อไป - มีการประเมินผลหลังจบโครงการฯ - จัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามแผนเสนอผู้บริหาร - รางวัลสำหรับผู้ตอบคำถามฯ จัดหา มอบรางวัลผู้เข้าร่วมโครงการฯ รางวัลสำหรับผู้แสดงความคิดเห็น เสนอแนะ โครงการฯ ดูรายละเอียดได้จากรายงานผลการดำเนินงานตามแผนจัดการความรู้ ในขั้นตอนที่ 5

21 A9. มีกิจกรรมยกย่องชมเชย (CMP องค์ประกอบที่ 6) แสดงให้เห็น
ชัดเจนเป็นรูปธรรม (เพิ่มเป็นกิจกรรมที่ 8 ในแบบฟอร์มที่ 2) มีการแจกรางวัลสำหรับแจกผู้ตอบคำถาม มีการแจกรางวัลสำหรับแจกผู้ซักถาม/แสดงความคิดเห็น มีการแจกรางวัลจับฉลาก และของที่ระลึกสำหรับผู้ที่ อยู่ร่วมกิจกรรมสัมมนาตลอดงาน หลักฐาน รูปถ่ายในการสัมมนา (กระบวนจัดการความที่ 6,7) 2 เอกสารรายงานรายงานผลการดำเนินงานตามแผนจัดการความรู้ ในขั้นตอนที่ 5

22 A9. มีกิจกรรมยกย่องชมเชย (CMP องค์ประกอบที่ 6) แสดงให้เห็น
ชัดเจนเป็นรูปธรรม (เพิ่มเป็นกิจกรรมที่ 8 ในแบบฟอร์มที่ 2)

23 หลักฐานตามเอกสารจากแผนการจัดการความรู้ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553
A10. มีการลงนามเห็นชอบ การจำแนกองค์ความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดันตามประเด็นยุทธศาสตร์จากผู้บริหารสูงสุดของ ส่วนราชการ (CEO)/หรือผู้บริหารที่ได้รับการมอบอำนาจฯ และผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการความรู้ (CKO) / หรือผู้บริหารที่ได้รับการมอบอำนาจฯ A11. มีการลงนามเห็นชอบ แผนการจัดการความรู้ จากผู้บริหารสูงสุดของส่วนราชการ (CEO) / หรือผู้บริหารที่ได้รับการมอบอำนาจฯ และผู้บริหารสูงสุดด้านการจัดการ ความรู้ (CKO)/หรือผู้บริหารที่ได้รับการมอบอำนาจฯ ภายในระยะเวลาที่เหมาะสม ผู้รับผิดชอบ บทบาทหน้าที่ CEO/CKO กระทรวงฯ แต่งตั้งคณะทำงานจัดการความรู้กระทรวงพลังงาน เห็นชอบจำแนกองค์ความรู้ เห็นชอบแผนจัดการความรู้ เห็นชอบรายงานผลการดำเนินการ และข้อเสนอแนะ แบบฟอร์ม 1 แบบฟอร์ม 2 ลงนามเห็นชอบ เมื่อวันที่ 20 มี.ค คณะทำงานฯ จัดทำแผนฯ ติดตามผล รวบรวมเอกสาร จัดทำรายงาน จัดทำข้อเสนอแนะ ผู้แทนหน่วยงานในสังกัด พน. ทั้ง 5 หน่วยงาน ดำเนินการ ตามแผนฯ รายงานความก้าวหน้า รายงานปัญหาอุปสรรค ประสาน รวบรวมเอกสารประกอบการดำเนินการ หลักฐานตามเอกสารจากแผนการจัดการความรู้ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2553

24 ผลการดำเนินงานตามแผนจัดการความรู้ ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2553
D1. สามารถดำเนินการได้แล้วเสร็จ ครบถ้วน ทุกกิจกรรมที่กำหนด ในแผน KM ครบทั้ง 3 แผน ผลการดำเนินงานตามแผนจัดการความรู้ ณ วันที่ 25 สิงหาคม 2553 KM1 : การผลิตไฟฟ้าจาก พลังงานนิวเคลียร์ (สนพ.) KM2 : เทคโนโลยีการแปลงสภาพ ชีวมวล (สป.พน.) KM3 : น้ำมันแก๊สโซฮอล์ และไบโอดีเซล (ธพ.) KM4 : การส่งเสริมเครื่องจักร ประสิทธิภาพสูง (พพ.) KM5 : พลังงานผลกระทบ ต่อการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศของโลก Global Warming (สป.พน.) KM6: รายได้จากการประกอบ ธุรกิจปิโตรเลียม (ชธ.) เฉลี่ย 100% C-24

25 จำนวนกลุ่มเป้าหมาย (60 คน)
D2. ทุกกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้มีผลการดำเนินการครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย ไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ครบทั้ง 3 แผน รายชื่อองค์ความรู้ จำนวนกลุ่มเป้าหมาย (60 คน) KM 1: การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ของประเทศไทย มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน คน คิดเป็น 288% KM2 : เทคโนโลยีการแปลงสภาพชีวมวล (Biomass Conversion) มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน คน คิดเป็น 217% KM 3: ความรู้เกี่ยวกับน้ำมันแก๊สโซฮอล์และไบโอดีเซล มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน คน คิดเป็น 170% KM 4: องค์ความรู้เกี่ยวกับโครงการส่งเสริมเครื่องจักร อุปกรณ์ ประสิทธิภาพสูงและวัสดุ อุปกรณ์เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน คน คิดเป็น 192% KM 5: พลังงานผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศของโลก คิดเป็น 217% KM 6: รายได้จากการประกอบกิจการปิโตรเลียม ตามกฎหมายว่าด้วยปิโตรเลียม มีผู้เข้าร่วมกิจกรรม จำนวน 102 คน (กำหนด 50 คน) คิดเป็น 202% C-25

26 ระยะเวลาในการติดตามแต่ละครั้งที่เหมาะสม
D3. มีรายงานผลการติดตามความก้าวหน้าทุกครั้งตามที่ระบุในกรอบระยะเวลาการติดตามประเมินผลการ ดำเนินงานของกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้และต้องไม่น้อยกว่า 2 ครั้งต่อปี โดยมีช่วงห่างของ ระยะเวลาในการติดตามแต่ละครั้งที่เหมาะสม ครั้งที่ 1 เฉลี่ย 44% ณ 27 เม.ย. 53 ครั้งที่ 2 เฉลี่ย 50 % ณ 27 พ.ค. 53 ครั้งที่ 3 เฉลี่ย 69 % ณ 7 มิ.ย. 53 ครั้งที่ 4 เฉลี่ย 82.5 % ณ 21 มิ.ย. 53 ครั้งที่ 5 เฉลี่ย 100 % ณ 19 ส.ค. 53 C-26

27 A5. เลือกองค์ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย 3 องค์ความรู้ จาก 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่แตกต่างกันพร้อมระบุเหตุผล หรือความเหมาะสมในการเลือกองค์ความรู้ คัดเลือกองค์ความรู้ที่จำเป็นอย่างน้อย 3 องค์ความรู้ จาก 2 ประเด็นยุทธศาสตร์ที่แตกต่างกัน ระบุเหตุผลหรือความเหมาะสมในการเลือกองค์ความรู้ C-27

28 ประเด็นสำคัญในการพิจารณาคัดเลือกองค์ความรู้
รายชื่อองค์ความรู้ ครบถ้วน PMQA-4 1* ครบถ้วน PMQA-7 2* มีผลสัมฤทธิ์ 3 เป้าหมาย 4 KPI=3, (16 ส.ค. ) รวม คะแนน KM 1: การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ 1 ผู้เข้าร่วมกิจกรรม (6,7) = 288% พึงพอใจมาก (1.1.3) 3.75 4 KM2 : Biomass Conversion) -ผู้เข้าร่วมกิจกรรม (6,7) = 217% -พึงพอใจมาก ( ) 1.00 3 KM 3: น้ำมันแก๊สโซฮอล์ และไบโอดีเซล -ผู้เข้าร่วมกิจกรรม (6,7) = 170% ( ), ( ) 3.11, 3.34 KM 4: เครื่องจักรอุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง -ผู้เข้าร่วมกิจกรรม (6,7) = 192% (1.1.7)  5.00 KM 5: Global Warming KM พื้นฐานทั่วไปที่เจ้าหน้าที่ พน. ประชาชน ผู้ที่เกี่ยวข้องควรรับรู้ KM 6: รายได้จากการประกอบกิจการ ปิโตรเลียมฯ -ผู้เข้าร่วมกิจกรรม (6,7) = 202% 1 มีผลการดำเนินการที่ครบถ้วนตามเกณฑ์ PMQA หมวด 4 (IT7) คู่มือหน้า 170 2 มีผลดำเนินการได้ครบถ้วนตามแผนการจัดการความรู้ตามเกณฑ์ PMQA หมวด 7 (RM 4.3) คู่มือหน้า 177 3 กิจกรรมการจัดการความรู้มีผลสัมฤทธิ์ (ผลของ RM4.3) 4 KPI ที่สัมพันธ์กับประเด็นยุทธศาสตร์ที่เลือกมาเป็นองค์ความรู้บรรลุเป้าหมาย ระดับที่ 3 คู่มือหน้า 70

29 ข้อสรุปในการพิจารณา KM
ข้อเสนอในการพิจารณาคัดเลือก 1. เลือก KM 1, KM3, KM4 เนื่องจากมีคะแนนอยู่ในระดับสูง 2. ได้ผ่านการพิจารณากลั่นกรองความถูกต้อง ครบถ้วน สมบูรณ์ จากที่ปรึกษา และผู้แทนคณะทำงานที่รับผิดชอบในการจัดทำ KM ของแต่ละหน่วยงานแล้ว รายชื่อองค์ความรู้ที่ขอเสนอคัดเลือก 3 องค์ความรู้ KM 1 : การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานนิวเคลียร์ของประเทศไทย : สนพ. KM 3 : ความรู้เกี่ยวกับน้ำมันแก๊สโซฮอล์และไบโอดีเซล : ธพ. KM 4 : โครงการส่งเสริมเครื่องจักรอุปกรณ์ประสิทธิภาพสูง และวัสดุ อุปกรณ์ เพื่อการอนุรักษ์พลังงาน : พพ.

30 ปัญหา อุปสรรคในการดำเนินการในปี 2553 และข้อเสนอแนะในการจัดทำแผนจัดการความรู้ ประจำปีงบประมาณ 2554
กระบวนการ ปัญหาอุปสรรค ปี 2553 ข้อเสนอแนะ ปี 2554 1. จัดตั้งคณะทำงานการจัดการความรู้กระทรวงพลังงาน - ผู้บริหารทุกหน่วยงานสังกัดกระทรวงพลังงานจะต้องให้ความสำคัญในการจัดทำองค์ความรู้ด้านพลังงานระดับกระทรวงอย่างจริงจังและต่อเนื่อง คณะทำงาน/ผู้รับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดทำองค์ความรู้ไม่ควรปรับเปลี่ยนทุกปี 2. ประชุมฯ ชี้แจงหลักเกณฑ์การประเมิน /การคัดเลือก 3. การจัดทำแผนฯ/ CKO, CEO ลงนามเห็นชอบแผน 4. ดำเนินงานตามกระบวนการจัดการความรู้ บุคลากรมีภาระงานมาก ทำให้การเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ไม่เต็มที่ ผู้เข้าร่วมสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ส่วนมากเป็นเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการและพนักงานราชการ การเสนอแนะนโยบายหรือการให้ข้อคิดเห็นต่าง ๆ จึงมีค่อนข้างจำกัด ควรจะตั้งงบประมาณในการจัดทำองค์ความรู้เฉพาะทุกปีงบประมาณ 2. ควรจัดเป็นงานในลักษณะนิทรรศการและการสัมมนา “สัปดาห์แห่งการเรียนรู้ด้านพลังงาน” 5. จัดทำรายงานผลการดำเนินงานตามแผนจัดการความรู้ 6. ติดตามความก้าวหน้าอย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี


ดาวน์โหลด ppt ดำเนินงานแผนการจัดการความรู้กระทรวงพลังงาน ประจำปีงบประมาณ 2553

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google