งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน

2 การส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน
SPP : ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนที่มีปริมาณพลังไฟฟ้าเสนอขายเข้าระบบของการไฟฟ้าเกินกว่า 10 MW แต่ไม่เกิน 90 MW ขายไฟฟ้าให้กับ กฟผ. สามารถแบ่งเป็นดังนี้ Cogeneration Renewable สัญญา Firm ปริมาณพลังไฟฟ้าเสนอขาย >10 MW ,<= 90 MW อายุสัญญาตั้งแต่ ปี สัญญา Non-Firm Cogeneration Renewable ปริมาณพลังไฟฟ้าเสนอขาย >10 MW <= 90 MW อายุสัญญา 5 ปี และต่อเนื่องอัตโนมัติ VSPP : ผู้ผลิตไฟฟ้าทั้งภาคเอกชน รัฐบาล รัฐวิสาหกิจ และประชาชนทั่วไปที่มีเครื่องกำเนิดไฟฟ้าของตนเอง ที่มีปริมาณพลังไฟฟ้าเสนอขายเข้าระบบของการไฟฟ้าไม่เกิน 10 MW ขายไฟฟ้าเข้าระบบของ กฟน. หรือ กฟภ. สัญญา Non-Firm Cogeneration Renewable ปริมาณพลังไฟฟ้าเสนอขาย <= 10 MW อายุสัญญา 5 ปี และต่อเนื่อง

3 การรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP

4 การรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP (1)
วัตถุประสงค์ : ให้ กฟผ. สามารถรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ที่ผลิตไฟฟ้าโดยใช้พลังงานนอกรูปแบบ กาก หรือเศษวัสดุเหลือใช้เป็นเชื้อเพลิง และการผลิตไฟฟ้าและไอน้ำร่วมกัน (Cogeneration) กำหนดให้มีการใช้ไอน้ำ > 10 % กำหนดประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้า > 45 % ส่งเสริมให้มีการใช้พลังงานนอกรูปแบบและพลังงานพลอยได้ในประเทศให้เกิดประโยชน์มากยิ่งขึ้น ส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าอย่างมีประสิทธิภาพ ช่วยแบ่งเบาภาระการลงทุนของภาครัฐในระบบการผลิตและจำหน่ายไฟฟ้าด้วย

5 การรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP (2)
ความต้องการใช้ไฟฟ้าลดต่ำลง กำลังการผลิตสำรอง (Reserve Margin) ของระบบอยู่ในระดับสูง แต่การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนมีประโยชน์ต่อประเทศโดยรวม ครม. มีมติวันที่ 11 ส.ค เห็นชอบ: ให้มีการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ที่ใช้พลังงานนอกรูปแบบ กาก เศษวัสดุเหลือใช้เป็นเชื้อเพลิง และโครงการ SPP ประเภท Non-Firm ไม่กำหนดระยะเวลาและปริมาณ ขึ้นอยู่กับขีดความสามารถของระบบส่งและระบบจำหน่ายที่จะรับได้ มติ กพช. วันที่ 26 ธ.ค. 49: เห็นชอบให้ กฟผ. เปิดการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ทุกประเภทเชื้อเพลิงตามที่กำหนดในระเบียบการรับซื้อไฟฟ้า โดยให้ขยายปริมาณการรับซื้อไฟฟ้าจากเดิม 3,200 MW เป็น 4,000 MW

6 การรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP รายใหม่
Firm Non-Firm Cogeneration Renewable Cogeneration Renewable ปริมาณพลังไฟฟ้าเสนอขาย < 90 MW ปริมาณพลังไฟฟ้าเสนอขาย <90 MW อายุสัญญาตั้งแต่ ปี อายุสัญญา 5 ปี และต่อเนื่อง กฟผ. ได้ออกประกาศรับซื้อไฟฟ้าแล้ว เมื่อวันที่ 18 เม.ย. 2550

7 ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ประเภทสัญญา Firm (1)
ปริมาณพลังไฟฟ้าเสนอขายเข้าระบบไม่เกิน 90 MW อายุสัญญา ปี แบ่งออกเป็น 2 ระเบียบ ดังนี้ 1. ระบบ Cogeneration นิยามการผลิตทั้งพลังงานไฟฟ้าและพลังงานความร้อนในเวลาเดียวกันจากโรงไฟฟ้าหนึ่ง ซึ่งเป็นการแปลงพลังงานปฐมภูมิไปเป็นพลังงานไฟฟ้าและพลังงานความร้อน ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ (useful heat energy) ภายในกระบวนการผลิตเดียวกันตามกระบวนการทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamics) เงื่อนไข ใช้ก๊าซธรรมชาติหรือถ่านหินเป็นเชื้อเพลิง มีสัดส่วนของพลังงานความร้อนที่จะนำไปใช้ในกระบวนการอุณหภาพ นอกจากการผลิตไฟฟ้าต่อการผลิตพลังงานทั้งหมด >= 5% SPP จะได้รับค่า FS สูงสุดเมื่อผลิตไฟฟ้าได้อย่างมีประสิทธิภาพโดยมีค่า PES >= 10%

8 ระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าจาก SPP ประเภทสัญญา Firm (2)
พลังงานหมุนเวียน 2.1 การผลิตไฟฟ้าของผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กที่ใช้พลังงานนอกรูปแบบ (Non-Conventional Energy) เช่น พลังลม พลังแสงอาทิตย์ พลังน้ำขนาดเล็ก (Mini Hydro) เป็นต้น ซึ่งต้องไม่ใช่การใช้น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน และพลังนิวเคลียร์ 2.2 การผลิตไฟฟ้าของผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กโดยใช้เชื้อเพลิงดังต่อไปนี้ - กากหรือเศษวัสดุเหลือใช้ในการเกษตร หรือกากจากการผลิต ผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมหรือการเกษตร - ผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปมาจากกากหรือเศษวัสดุเหลือใช้จากการเกษตร หรือจาก การผลิตผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมหรือการเกษตร - ขยะมูลฝอย - ไม้จากการปลูกป่าเป็นเชื้อเพลิง SPP ที่ใช้เชื้อเพลิงดังกล่าวข้างต้นสามารถใช้เชื้อเพลิงในเชิงพาณิชย์ เช่น น้ำมัน และก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิน เป็นเชื้อเพลิงเสริมได้ แต่ทั้งนี้พลังงานความร้อนที่ได้จากการใช้เชื้อเพลิงเสริมในแต่ละรอบปีต้องไม่เกินร้อยละ 25 ของพลังงานความร้อนทั้งหมดที่ใช้ในกระบวนการผลิตในรอบปีนั้นๆ

9 ผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก (SPP)
ปริมาณพลังไฟฟ้า 4,000 MW ขายเข้าระบบแล้ว 2,400 MW 1,600 MW ประกาศงวดแรก 1,030 MW Cogeneration (>10MW - <= 90 MW) Renewable (>10 MW- <= 90 MW) 530 MW 500 MW การส่งเสริม ส่วนเพิ่มฯ เปิดประมูล ส่วนเพิ่มฯ อัตราคงที่ การส่งเสริม โครงการก๊าซธรรมชาติ โครงการถ่านหิน เชื้อเพลิง ส่วนเพิ่มฯ(บาท/kWh) ปริมาณพลังไฟฟ้ารับซื้อ (MW) ระยะเวลาสนับสนุน (ปี) ขยะ 2.50 100 7 พลังงานลม 3.50 115 10 พลังงานแสงอาทิตย์ 8.00 15 พลังงานหมุนเวียนอื่น ๆ 0.30 300 รวม 530 คงที่ เปิดประมูล

10 อัตราค่าพลังงานไฟฟ้าของ SPP
SPP Firm 1) ค่าพลังไฟฟ้า (Capacity Payment : CP) 2) ค่าพลังงานไฟฟ้า (Energy Payment: EP) 3) ค่าประหยัดเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า (Fuel Saving : FS) - SPP ประเภทสัญญา Firm ระบบ Cogeneration ได้รับค่า FS ตั้งแต่ บาท/kWh ตามสัดส่วนค่า PES - SPP ประเภทสัญญา Firm ที่ใช้พลังงานหมุนเวียนจะได้รับค่า FS ในอัตราคงที่สูงสุด (= 0.36 บาท/kWh) SPP Non-Firm แบ่งตามกระบวนการผลิตไฟฟ้า ออกเป็น 2 ลักษณะ ดังนี้ มีลักษณะกระบวนการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน จะได้รับค่าพลังงานไฟฟ้าตามโครงสร้างอัตราค่าไฟฟ้าขายส่ง ณ แรงดัน KV รวมกับค่า Ft ขายส่งเฉลี่ย SPP จะได้รับส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้าด้วย โดยให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่จะประกาศเป็นครั้งๆ ไป 2) มีลักษณะกระบวนการผลิตไฟฟ้าด้วยระบบ Cogeneration จะได้รับค่าพลังงานไฟฟ้า (Energy Payment) ซึ่งกำหนดจากค่าเชื้อเพลิงในการผลิตพลังงานไฟฟ้า ค่าดำเนินการและค่าบำรุงรักษาของโรงไฟฟ้าที่ กฟผ. สามารถหลีกเลี่ยงได้ในระยะสั้น (Short Run Avoided Energy Cost) จากการรับซื้อพลังงานไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็ก โดยอัตราค่าไฟฟ้าจะแตกต่างกันตามช่วงเวลา (TOU) ที่ผลิตไฟฟ้า

11 การรับซื้อไฟฟ้าจาก VSPP

12 การรับซื้อไฟฟ้าจาก VSPP (<1MW)
พ.ศ.2545 : การไฟฟ้าฝ่ายจำหน่ายออกประกาศรับซื้อไฟฟ้าจาก VSPP < 1 MW (ปริมาณพลังไฟฟ้าขายเข้าระบบ < 1 MW) VSPP ต้องเป็นผู้ใช้ไฟของ กฟน./กฟภ. วัตถุประสงค์ : ส่งเสริมการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรในประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ ลดการพึ่งพาการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานเชิงพาณิชย์ ลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม การกระจายโอกาสไปยังพื้นที่ห่างไกลให้มีส่วนร่วมในการผลิตไฟฟ้า การคิดค่าไฟฟ้า อัตราค่าไฟฟ้ากำหนดจากหลักการต้นทุนที่หลีกเลี่ยงได้ (Avoided Cost) ของการไฟฟ้าฝ่ายจำหน่าย วิธีคำนวณค่าไฟฟ้าใช้หลักการหักลบหน่วยพลังงานไฟฟ้า (Net Energy)

13 การรับซื้อไฟฟ้าจาก VSPP (<10 MW)
ระเบียบสำหรับการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน ระเบียบสำหรับการผลิตไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานเชิงพาณิชย์ ระบบ Cogeneration การออกประกาศรับซื้อไฟฟ้า กฟภ. ออกประกาศวันที่ 7 ธันวาคม 2549 กฟน. ออกประกาศวันที่ 27 ธันวาคม 2549 ผู้ผลิตไฟฟ้าที่จะขายไฟฟ้าตามระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าจาก VSPP เมื่อผลิตไฟฟ้าใช้ในกระบวนการผลิตหรือใช้ในโรงไฟฟ้าแล้ว สามารถขายไฟฟ้าเข้าระบบของการไฟฟ้าฝ่ายจำหน่ายได้ < 10 MW

14 ผู้ผลิตไฟฟ้าขนาดเล็กมาก (VSPP)
Cogeneration (≤ 10 MW) Renewable (≤10 MW) การส่งเสริม ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า อัตราคงที่ เงื่อนไข PES ≥ 10 % เชื้อเพลิง ส่วนเพิ่มฯ (บาท/kWh) ระยะเวลาสนับสนุน (ปี) ชีวมวล 0.30 7 ก๊าซชีวภาพ พลังน้ำขนาดเล็ก ( kW) 0.40 พลังน้ำขนาดเล็ก (< 50 kW) 0.80 ขยะ 2.50 พลังงานลม 3.50 10 พลังงานแสงอาทิตย์ 8.0 กำหนดให้ยื่นขอขายไฟฟ้าภายในปี 2551

15 ภาพรวมการรับซื้อไฟฟ้าจาก VSPP
เมื่อขยายปริมาณพลังไฟฟ้ารับซื้อตามระเบียบการรับซื้อไฟฟ้าจาก < 1 MW เป็น < 10 MW และให้ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า ทำให้ 1. ประเภทเชื้อเพลิงหลากหลายขึ้น < 1 MW < 10 MW แสงอาทิตย์ ก๊าซชีวภาพ ฟางข้าว ชีวมวลอื่น ๆ ขยะ ไบโอดีเซล พลังน้ำ พลังลม ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน 2. VSPP ได้รับการตอบรับซื้อไฟฟ้าเพิ่มขึ้นจาก MW ในปี 2549 เป็น 1, MW ปริมาณพลังไฟฟ้ารับซื้อที่เพิ่มขึ้น = 1, MW 3. VSPP ขายไฟฟ้าเข้าระบบเพิ่มขึ้นจาก MW ในปี 2549 เป็น MW ปริมาณพลังไฟฟ้าขายเข้าระบบที่เพิ่มขึ้น =

16 อัตราค่าพลังงานไฟฟ้าของ VSPP
กำหนดจากหลักการต้นทุนที่หลีกเลี่ยงได้ (Avoided Cost) ของการไฟฟ้าฝ่ายจำหน่าย วิธีการคำนวณค่าพลังงานไฟฟ้า VSPP ที่มีปริมาณพลังไฟฟ้าขายเข้าระบบ <=6 MW : ใช้หลักการหักลบหน่วยพลังงานไฟฟ้า (Net Energy) VSPP ที่มีปริมาณพลังไฟฟ้าขายเข้าระบบ > 6 MW : คำนวณค่าพลังงานไฟฟ้าทั้งหมดตามมิเตอร์ซื้อในอัตราค่าไฟฟ้าขายส่ง และมิเตอร์ขายตามอัตราค่าไฟฟ้าขายปลีกของผู้ใช้ไฟประเภทนั้นๆ VSPP ที่ทำสัญญาเสนอขายไฟฟ้า >1 MW ขึ้นไป ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่นำมาคำนวณจะถูกหักออก 2% ของปริมาณพลังงานไฟฟ้าส่วนที่ขาย เพื่อเป็นค่าดำเนินการโครงการรับซื้อไฟฟ้าจาก VSPP ของการไฟฟ้าฝ่ายจำหน่าย การกำหนดอัตรารับซื้อไฟฟ้า VSPP พลังงานหมุนเวียน ราคารับซื้อไฟฟ้า จำนวนหน่วยไฟฟ้าที่ขาย > ซื้อจากการไฟฟ้า คิดในราคาขายส่ง จำนวนหน่วยไฟฟ้าที่ขาย < หรือเท่ากับที่ซื้อจากการไฟฟ้า คิดในราคาขายปลีก ราคารับซื้อ = ค่าไฟฟ้าขายส่ง ณ ระดับแรงดันที่ VSPP ทำการเชื่อมโยง + ค่า Ft ขายส่งเฉลี่ย VSPP ที่ทำสัญญาเสนอขายไฟฟ้า >1 MW ขึ้นไป ปริมาณพลังงานไฟฟ้าที่นำมาคำนวณจะถูกหักออก 2% ของปริมาณพลังงานไฟฟ้าส่วนที่ขาย เพื่อเป็นค่าดำเนินการโครงการรับซื้อไฟฟ้าจาก VSPP ของการไฟฟ้าฝ่ายจำหน่าย

17 ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชน (SPP & VSPP)
(> 10 MW-< 90 MW VSPP (< 10 MW) ปริมาณพลังไฟฟ้า 4,000 MW ขายเข้าระบบแล้ว 2,400 MW 1,600 MW ประกาศงวดแรก 1,030 MW Cogeneration Renewable Cogeneration Renewable 500 MW 530 MW การส่งเสริม ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า อัตราคงที่ 7 ปี การส่งเสริม โครงการก๊าซธรรมชาติ โครงการถ่านหิน การส่งเสริม ส่วนเพิ่มฯ เปิดประมูล ส่วนเพิ่มฯ อัตราคงที่ 7 ปี เชื้อเพลิง ส่วนเพิ่มฯ (บาท/kWh) ชีวมวล 0.30 ก๊าซชีวภาพ พลังน้ำขนาดเล็ก ( kW) 0.40 พลังน้ำขนาดเล็ก (< 50 kW) 0.80 ขยะ 2.50 พลังงานลม* 3.50 พลังงานแสงอาทิตย์* 8.0 เชื้อเพลิง ส่วนเพิ่มฯ(บาท/kWh) ปริมาณพลังไฟฟ้ารับซื้อ (MW) ขยะ 2.50 100 พลังงานลม* 3.50 115 พลังงานแสงอาทิตย์* 8.00 15 พลังงานหมุนเวียนอื่น ๆ 0.30 300 รวม 530 คงที่ (คัดเลือกได้ 335) เปิดประมูล * ระยะเวลาสนับสนุน 10 ปี นับจากวัน COD

18 การส่งเสริมการผลิตไฟฟ้า พลังงานหมุนเวียน “ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า”
การส่งเสริมการผลิตไฟฟ้า พลังงานหมุนเวียน “ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า”

19 การส่งเสริมการผลิตไฟฟ้า จากพลังงานหมุนเวียน (1)
พ.ศ. 2544 กองทุนเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์พลังงาน ให้การสนับสนุนราคารับซื้อไฟฟ้าเพิ่มเติมสำหรับ SPP พลังงานหมุนเวียน ด้วยวิธีประมูลแข่งขัน พ.ศ. 2550 การไฟฟ้าฝ่ายจำหน่ายออกประกาศให้ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้าจากราคาตามระเบียบ VSPP ตามประเภทเทคโนโลยีใน อัตราคงที่ กฟผ. ออกประกาศให้ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้าจากราคาตามระเบียบ SPP (ลม ขยะ แสงอาทิตย์) ในอัตราคงที่ กระทรวงพลังงานออกประกาศเชิญชวนผู้ผลิตไฟฟ้ารายเล็กที่ใช้พลังงานหมุนเวียนเพื่อยื่นข้อเสนอส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้าด้วยวิธีประมูลแข่งขัน กฟผ. และ กฟภ. ออกประกาศส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้าพิเศษ สำหรับโครงการใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้

20 การส่งเสริมการผลิตไฟฟ้า พลังงานหมุนเวียน (2)
การกำหนดส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า (Adder) เพื่อเป็นแรงจูงใจให้ผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนที่มีต้นทุนสูง เข้ามามีส่วนร่วมในการผลิตไฟฟ้าให้กับระบบเพิ่มขึ้น คำนึงถึงต้นทุนในการผลิตไฟฟ้า คำนึงถึงภาระค่าไฟฟ้าของประชาชน มูลค่าการรับซื้อไฟฟ้าตามส่วนเพิ่มฯ ให้ส่งผ่านค่าไฟฟ้าตามสูตรการปรับอัตราค่าไฟฟ้าโดยอัตโนมัติ (Ft)

21 ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า สำหรับผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน สำหรับโครงการ 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้
มติ กพช. 4 มิ.ย : เห็นชอบการกำหนดส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้า สำหรับผู้ผลิตไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนสำหรับโครงการใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ (ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส ) ดังนี้ เชื้อเพลิง/เทคโนโลยี ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้าเดิม (บาท/kWh ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้าพิเศษ(บาท/kWh ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้ารวม (บาท/kWh) ชีวมวล, ก๊าซชีวภาพ 0.30 1.0 1.30 พลังน้ำขนาดเล็ก ( kW) 0.40 1.40 พลังน้ำขนาดเล็ก (< 50 kW) 0.80 1.80 ขยะ 2.50 3.50 พลังงานลม 1.50 5.00 พลังงานแสงอาทิตย์ 8.00 9.50 หมายเหตุ : กฟผ. ออกประกาศ 23 ก.ค และ กฟภ. ออกประกาศ 13 ก.ค. 2550 มติ กพช. 27 ส.ค : เห็นชอบการกำหนดอัตราส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้าที่ให้เพิ่มเติมพิเศษ สำหรับโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียนใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ ให้รวมถึงโครงการโรงไฟฟ้าเดิมที่ตั้งอยู่ใน 3 จังหวัด (ยะลา ปัตตานี และนราธิวาส ) ด้วย มีโครงการที่ได้รับส่วนเพิ่มพิเศษ 1 ราย คือ บจก. กัลฟ์ ยะลากรีน ที่ตั้ง อ. เมือง จ. ยะลา ปริมาณพลังไฟฟ้าเสนอขาย MW ใช้เศษไม้ยางพาราเป็นเชื้อเพลิง


ดาวน์โหลด ppt การรับซื้อไฟฟ้าจากผู้ผลิตไฟฟ้าพลังงานหมุนเวียน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google