งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การจัดการพาหะนำโรค ในสถานการณ์ปัจจุบัน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การจัดการพาหะนำโรค ในสถานการณ์ปัจจุบัน"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 การจัดการพาหะนำโรค ในสถานการณ์ปัจจุบัน
นายบุญเสริม อ่วมอ่อง สำนักโรคติดต่อนำโดยแมลง กรมควบคุมโรค

2 โรคติดต่อที่นำโดยยุงที่สำคัญในประเทศไทย
ไข้มาลาเรีย โรคเท้าช้าง ไข้เลือดออก ไข้สมองอักเสบ ไข้ปวดข้อยุงลาย

3 จำนวนผู้ป่วยโรคติดต่อนำโดยยุงในประเทศไทย
ปี ไข้ เลือดออก มาลาเรีย โรค เท้าช้าง สมองอักเสบ ปวดข้อยุงลาย 2551 89,626 28,902 191 64 2,494 2550 65,581 30,889 197 43 - 2549 46,829 28,692 218 49 2548 45,893 28,131 254 78 2547 39,135 23,656 271 39 2546 63,657 19,910 354 37

4 จำนวนผู้ป่วยโรคติดต่อนำโดยยุงในประเทศไทย
ผู้ป่วย ปี 51 ผู้ เสียชีวิต ปี 51 จำนวนป่วย ปี 52 มาลาเรีย 28,902 36 15,499(20 ก.ย.52) ไข้เลือดออก 89,626 102 36,359(12 ก.ย.52) ไข้ปวดข้อยุงลาย 2,494 40,700 (15 ก.ย. 52) โรคเท้าช้าง 191 (ก.ค. 52) ไข้สมองอักเสบ 64 156 (12 ก.ย.52)

5 โรคติดต่อนำโดยแมลง คน สภาพแวดล้อม เชื้อ พาหะ

6 หลักการควบคุมยุงพาหะนำโรค
Personal Protection Bednets Screens Clothes Repellents Adult control IRS ITBN Space spraying Adult Egg Pupae Larvae Aquatic stage control Reduced breeding place Trap Larvicide Predator & parasite

7 แนวทางการควบคุมและจัดการ โรคไข้เลือดออกและไข้ปวดข้อยุงลาย
การลดแหล่งเพาะพันธุ์ยุงพาหะนำโรค การค้นหาผู้ป่วยและให้การรักษาอย่างรวดเร็ว การป้องกันผู้ป่วยไม่ให้แพร่โรค การกำจัดยุงที่มีเชื้อให้หมดอย่างรวดเร็ว การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์

8 Integrated Vector Control การควบคุมพาหะนำโรคแบบผสมผสาน
คือการนำมาตรการควบคุมพาหะนำโรค ทุกชนิดที่เหมาะสม ปลอดภัย และเข้ากัน ได้ มาผสมผสานใช้อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อลดพาหะนำโรค WHO 1983

9 Integrated Vector Management(IVM) การจัดการพาหะนำโรคแบบผสมผสาน
คือกระบวนการตัดสินใจอย่างมีเหตุผล เพื่อให้มีการใช้ทรัพยากรอย่างเหมาะสมใน การควบคุมพาหะนำโรค เพื่อลดหรือหยุดยั้ง การแพร่เชื้อโรค The latest definition of IVM proposed by WHO in 2007

10 Integrated Vector Management :
การเลือกวิธีควบคุมแมลง บนพื้นฐานความรู้ทางด้านชีววิทยาของพาหะนำโรค การแพร่โรคและอัตราป่วย การควบคุมมักใช้หลายวิธีการ ที่ดำเนินการร่วมกันได้ ดำเนินการร่วมกันระหว่างหน่วยงานสาธารณสุข หน่วยงานวิจัย องค์กรสาธารณะและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้รับความร่วมมือจากชุมชนและผู้ส่วนได้ส่วนเสีย ดำเนินการภายใต้กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ ใช้สารกำจัดแมลงอย่างสมเหตุสมผล มีระบบการบริหารจัดการที่ดี

11

12 แนวทางการเลือกใช้สารกำจัดแมลง เพื่อจัดการพาหะนำโรค
ผ่านการประเมินผลจากองค์การอนามัยโลกและกำหนดคุณลักษณะเฉพาะ ได้รับการขึ้นทะเบียนจากสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา รูปแบบเหมาะสมในการนำมาใช้ มีการศึกษาประสิทธิภาพในสนามของประเทศไทย พาหะนำโรคยังไม่ต้านทานต่อสารเคมีในระดับสูง

13 การกำหนดคุณลักษณะสารเคมี
คุณสมบัติ : ทางเคมี ทางกายภาพ สารปนเปื้อน : น้ำ สิ่งแปลกปลอม การเสนอราคา สำเนาหนังสือการได้รับการขึ้นทะเบียน สำเนาฉลาก ผลการทดสอบประสิทธิภาพ ผลการวิเคราะห์คุณสมบัติ การรับรองเป็นเจ้าของผลิตภัณฑ์/ผู้แทน การบรรจุ & หีบห่อ : ภาชนะ ฉลาก การส่งมอบ : Lot/Batch การตรวจรับ : วิเคราะห์คุณสมบัติ

14 ขอบคุณครับ


ดาวน์โหลด ppt การจัดการพาหะนำโรค ในสถานการณ์ปัจจุบัน

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google