งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1

2 การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด

3 บริหารแผนงาน/วิชาการ/ บูรณาการงานระหว่างประเด็น
กระบวนการบริหารแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์และค่ากลาง ประกาศค่ากลาง กำหนดค่ากลาง บริหารแผนงาน/วิชาการ/ ติดตาม/ประเมิน ตรวจสอบค่ากลาง บูรณาการงานระหว่างประเด็น ติดตาม KPI สนับสนุน ประเมินผล สร้างแผนงาน/โครงการ เปิดงาน ท้องถิ่น ผู้นำชุมชน รพสต อสม กองทุนฯตำบล

4 การปรับทิศทางของแผนงานสุขภาพสู่การพัฒนาพฤติกรรมของกลุ่มเป้าหมาย

5 ขั้นตอนของการพัฒนาหลังการกำหนดค่ากลาง
นำงานกลางเข้าตารางช่วยสร้างแผนงาน/โครงการสำหรับหลายประเด็น จังหวัด อำเภอ ท้องถิ่น/ตำบล

6 ตารางช่วยสร้างแผนงาน/โครงการที่ครอบคลุมหลายประเด็นพร้อมกัน
ประเด็น เบาหวาน/ความดัน ไข้เลือดออก ขยะชุมชน แม่และเด็ก โครงการ(1 ปี) กิจกรรม 1. ใช้ SRM/ ค่ากลาง 2. เฝ้าระวัง/ คัดกรอง 3. ใช้มาตรการสังคม บรรจุงานที่คัดเลือกเป็นค่ากลางลงในช่องต่างๆให้ตรงกับหัวเรื่องจนครบทุกช่อง 4. ปรับปรุงแผนท้องถิ่น/ตำบล 5. เตรียมกลุ่มเป้าหมาย 6. สื่อสาร 7. สนับสนุน แผนงานรายประเด็น(2-4 ปี)

7 บูรณาการงานของหลายประเด็นเพื่อเสริมพลังและประหยัดทรัพยากร
โดยสร้างโครงการรายกิจกรรม (Activity-based Project) 7 โครงการ กิจกรรม ประเด็น เบาหวาน/ความดัน ไข้เลือดออก ขยะชุมชน แม่และเด็ก โครงการ(1 ปี) 1. ใช้ SRM / ค่ากลาง ชุดงานรวม 1 2 3 4 5 6 7 ชุดงานเฉพาะ 2. เฝ้าระวัง / คัดกรอง ชุดงานรวม 3. ใช้มาตรการทางสังคม ชุดงานรวม 4. ปรับปรุงแผนท้องถิ่น/ตำบล ชุดงานรวม 5. เตรียมกลุ่มเป้าหมาย ชุดงานรวม 6. สื่อสาร ชุดงานรวม 7. สนับสนุน ชุดงานรวม แผนงานรายประเด็น(2-4 ปี) เบาหวาน/ความดัน ไข้เลือดออก ขยะชุมชน แม่และเด็ก ฯลฯ

8 (จัดชุดงานตามสี เว้นสีดำเป็นงานเฉพาะ)
ตัวอย่าง การบูรณาการงานเฝ้าระวังในประเด็นต่างๆ (จัดชุดงานตามสี เว้นสีดำเป็นงานเฉพาะ) กิจกรรมสำคัญ เบาหวาน/ความดันฯ ไข้เลือดออก อนามัยแม่ละเด็ก เอดส์ 1. การเฝ้าระวัง/คัดกรอง 1. ประเมินความเสี่ยงเบื้องต้นโดย อสม. (ใช้แบบประเมิน 5 ข้อของ สปสช.) 1. อสม.รณรงค์ให้ชุมชนมีการทำลายแหล่งเพาะพันธุ์ทุก 7 วัน 1. สำรวจข้อมูลหญิงวัยเจริญพันธุ์ที่แต่งงานแล้ว/หญิงตั้งครรภ์ 1. ติดตามพฤติกรรมเสี่ยงของคนในครอบครัวโดยผู้ใกล้ชิด KPI 2. อสม. ค้นหากลุ่มเสี่ยงในงานมงคล และอวมงคลในชุมชนของหมู่บ้าน 2. ตั้งทีมงาน SRRT ระดับตำบลเพื่อควบคุมโรคได้ทันเวลา 2. ดำเนินการเยี่ยมบ้านทั้งหญิงตั้งครรภ์ และหญิงหลังคลอด 2. ประเมินพฤติกรรมเสี่ยงด้วยตนเอง ของประชาชน 3. ทำค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วย 3. มีการเฝ้าระวังและรายงานโรคอย่างรวดเร็วทุกระดับ 3. ร่วมกับเจ้าหน้าที่ตรวจพัฒนาการเด็กในคลินิกเด็กดี และในศูนย์พัฒนาการเด็ก 3. ติดตามแหล่งเสี่ยงโดยชุมชนและ ครอบครัว KPI 4. เจ้าหน้าที่สาธารณสุข และ อสม. ร่วมกันออกคัดกรองกลุ่มเสี่ยง 4. จัดตั้งศูนย์เรียนรู้/ศูนย์เฝ้าระวังโรค/โรงเรียนนวัตกรรมสุขภาพชุมชน 4. อสม. เป็นแม่คนที่ 2 ช่วยแนะนำวิธีเลี้ยงลูก การให้นม การป้องกันโรคแก่แม่มือใหม่ 4. จัดทำทะเบียนผู้ติดเชื้อเอดส์

9

10 การปรับโครงสร้างแผนสุขภาพของท้องถิ่น / ตำบล

11 ใช้ข้อมูลจากตาราง 11 ช่องสร้างแผนงานที่มีความสัมพันธ์กัน
อย่างน้อย 3 แผนงาน

12 สร้างโครงการด้วย 7 กิจกรรมที่สามารถตอบสนองได้ทุกแผนงาน
กลุ่มแผนงาน 7 โครงการที่สร้างเพื่อตอบสนอง ได้ทุกแผนงาน โครงการ

13 * บูรณาการแผนงานจากแหล่งต่างๆของระบบปฐมภูมิ เข้าเป็นแผนสุขภาพตำบลแล้วตอบสนองด้วย 7 โครงการ

14 สรุปกระบวนการ ขั้นตอนของการจัดการค่ากลาง


ดาวน์โหลด ppt การพัฒนาหลังจากมีการกำหนดค่ากลางของจังหวัด

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google