งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

งานนำเสนอกำลังจะดาวน์โหลด โปรดรอ

แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


งานนำเสนอเรื่อง: "แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
สุวลีรัตน์ เพชรล้อม กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่ายฯ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๖

2 1. คัดกรองประชาชน 2. การจัดการโรค 3. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4. การพัฒนาศักยภาพชุมชน/ การปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อม 5. การสื่อสารความเสี่ยง/ การสื่อสารสาธารณะ (3อ 2ส) 6. การใช้มาตรการทางกฎหมาย นโยบาย และ มาตรการทางสังคม 7. การพัฒนาระบบสนับสนุนการดำเนินงาน (ระบบข้อมูล การบริหารจัดการ)

3 คัดกรองประชาชน  อายุ 35- 59 ปี  อายุ 60 ปีขึ้นไป
(DM, HT, Stroke, อ้วน, น้ำหนักเกิน) กลุ่มเป้าหมาย  อายุ ปี  อายุ ปี  อายุ 60 ปีขึ้นไป

4 จำแนกกลุ่ม  ปกติ  เสี่ยง  ป่วย
มีปัจจัย Pre DM/PreHT มีภาวะแทรกซ้อน

5  ดื่มแอลกอฮอล์ /ยาสูบ
2. ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม  กลุ่มที่มีปัจจัยเสี่ยง  อ้วน/น้ำหนักเกิน  ดื่มแอลกอฮอล์ /ยาสูบ  กลุ่มเสี่ยงสูง Pre DM/Pre HT  กลุ่มป่วย / มีภาวะแทรกซ้อน

6  ศูนย์ให้คำปรึกษาปรับเปลี่ยน
โปรแกรม  ศูนย์ให้คำปรึกษาปรับเปลี่ยน พฤติกรรมสุขภาพ (HCC : Health Care Center)  DPAC

7 3. การจัดการโรค  ระดับจังหวัด, อำเภอ System Manager  รพศ./รพท./รพช.
Case Manager  รพ.สต. คู่มือ รพ.สต. (NCD คลินิกคุณภาพ)

8

9  ชุมชนสุขภาพดีวิถีไทย
4.การพัฒนาศักยภาพชุมชน/ การปรับเปลี่ยนสภาพแวดล้อม  ชุมชนสุขภาพดีวิถีไทย  ตำบลจัดการสุขภาพ  หมู่บ้าน - จัดการสุขภาพ - ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - ลดเสี่ยงลดโรค

10 5. การสื่อสารความเสี่ยง/ การสื่อสารสาธารณะ (3อ 2ส)

11 เป็นการถ่ายทอดข่าวสารไปสู่สังคม สู่กลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นสาธารณะชน
การสื่อสารสาธารณะ (3อ 2ส) การสื่อสารสาธารณะ (public communication) เป็นการถ่ายทอดข่าวสารไปสู่สังคม สู่กลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นสาธารณะชน

12 6. การใช้มาตรการทางกฎหมาย นโยบาย และมาตรการทางสังคม
 กฎหมาย เครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ยาสูบ  นโยบาย อาหาร 3อ. 2ส.  มาตรการทางสังคม ปลูกผัก

13 7. การพัฒนาระบบสนับสนุนการดำเนินงาน (ระบบข้อมูล การบริหารจัดการ)  ข้อมูล สถานการณ์โรค  โปรแกรมบันทึกข้อมูล  รายงาน  วิเคราะห์ปัญหาการดำเนินงาน

14 การวิเคราะห์สถานการณ์
• ความชุก กลุ่มป่วยที่ถูกวินิจฉัย และได้รับการ รักษา • กลุ่มป่วยได้รับการรักษาอย่างมีคุณภาพเท่าใด • กลุ่มประชากรได้รับการคัดกรองครอบคลุม เท่าใด • กลุ่มประชากร ว่ามีพฤติกรรมเสี่ยง หรือ ปัจจัย เสี่ยงอย่างไร

15 การวิเคราะห์สถานการณ์
• กลุ่มประชากรที่เสี่ยงได้รับการดูแลให้ปรับ พฤติกรรมอย่างไร • กลุ่มประชากรทั่วไป มีกระบวนการให้ความรู้ สร้างความตระหนักต่อการปรับปัจจัยเสี่ยง ต่างๆ อย่างไรบ้าง

16 กรอบการดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง
สุวลีรัตน์ เพชรล้อม กลุ่มพัฒนาภาคีเครือข่ายฯ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 2สระบุรี 28 มีนาคม 2556

17 เสี่ยง(ปัจจัย) PreDM/HT
กรอบการดำเนินงาน คัดกรอง ดำเนินงาน ประเมินผล แผนการดำเนินงานเชิงรุกในชุมชน/โรงเรียน/โรงงาน - คืนข้อมูลให้ชุมชน - สร้างความร่วมมือกับ ภาคีเครือข่าย - จัดทำแผนงาน สร้างเสริมสุขภาพ - จัดกิจกรรมการเรียนรู้ และพัฒนาทักษะ - สื่อสารสุขภาพ/เตือนภัย ปกติ ผลการดำเนินงาน เสี่ยง(ปัจจัย) PreDM/HT รายงานตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง ป่วย วางแผนแก้ไขในปีต่อไป ระบาดโรค ไม่ติดต่อเรื้อรัง แผนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รายบุคคล/กลุ่ม

18 การคัดกรองDM/HT แบบคัดกรอง แบบคูปอง 7 สี BMI/รอบเอว กองสุขศึกษา
กรมสนับสนุนบริการ สำรวจพฤติกรรม แบ่ง 3 กลุ่มเป้าหมาย กลุ่มปกติ+เสี่ยงHBSS online คำนวณและสุ่มตัวอย่างให้ อสม.สัมภาษณ์พฤติกรรม (3อ. 2ส.) 21/43 แฟ้มข้อมูล ระบบเฝ้าระวังพฤติกรรมสุขภาพและเตือนภัยพฤติกรรมสุขภาพ รายงาน แปลผลพฤติกรรม

19 แผนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
การดำเนินงาน 1. หมู่บ้าน - จัดการสุขภาพ - ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม - ลดเสี่ยงลดโรค 2. ศูนย์การเรียนรู้องค์กร ต้นแบบไร้พุง 3. กิจกรรมพัฒนาทักษะ 4. กิจกรรมพัฒนาปัจจัยแวดล้อม 5. สื่อสารสุขภาพ 6. สื่อสารเตือนภัย 7. คู่มือ รพ.สต. แผนการดำเนินงานเชิงรุกในชุมชน/โรงเรียน/โรงงาน กลุ่มปกติ+เสี่ยง + PreDM/HT 1. DPAC 2. ศูนย์ให้คำปรึกษา ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (HCC) 3. คู่มือ รพ.สต. แผนการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รายบุคคล/กลุ่ม กลุ่มป่วย

20 โครงการปีงบประมาณ 2557 1. นิเทศติดตามประเมินผลการดำเนินงาน
2. ประชุมเครือข่ายการดำเนินงานป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเรื้อรังแบบบูรณางาน 3. ขับเคลื่อนเครือข่ายสถานประกอบการ ปลอดโรค ปลอดภัย กายใจเป็นสุข  

21 โครงการปีงบประมาณ 2557 4. ขยายเครือข่ายศูนย์ให้คำปรึกษา
5. ประเมินคลินิก NCD คุณภาพ และศูนย์ให้คำปรึกษา 6. สำรวจข้อมูลการคัดกรองโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง

22 สวัสดี

23 ผลการดำเนินงาน ประเมิน ความแออัด จำนวนผู้มารับบริการที่หน่วยบริการ
กลุ่มเป้าหมายที่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพที่ถูกต้อง ภาวะเสี่ยงทางสุขภาพ BMI รอบเอว สภาวะสุขภาพ ผู้ป่วยรายใหม่ ภาวะแทรกซ้อน ค่าใช้จ่าย ประชากรที่มีอายุขัย 80 ปีขึ้นไป

24 หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายงานตัวชี้วัด กลุ่มวัยทำงาน ตัวชี้วัด หน่วยงานที่รับผิดชอบ ร้อยละของประชาชนอายุ 15 ปีขึ้นไป ได้รับการคัดกรองเบาหวาน/ความดันโลหิตสูง (ไม่น้อยกว่า ๙๐) กรมควบคุมโรค ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ดี (ไม่น้อยกว่า ๕๐) สป.(สสว)* กรมแพทย์ กรมควบคุมโรค สบรส ร้อยละผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตได้ดี (ไม่น้อยกว่า 40) สป.(สสว)* กรมแพทย์กรมควบคุมโรค สบรส. ร้อยละของผู้ป่วยเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่มีภาวะแทรกซ้อนได้รับการดูแลรักษา /ส่งต่อ (เท่ากับ 100) กรมการแพทย์* สบรส.

25 ตัวชี้วัด หน่วยงานที่รับผิดชอบ ตัวชี้วัด หน่วยงานที่รับผิดชอบ
กลุ่มผู้สูงอายุ ผู้พิการ ตัวชี้วัด หน่วยงานที่รับผิดชอบ ร้อยละของผู้สูงอายุ ได้รับการคัดกรองเบาหวาน/ความดัน (เท่ากับ 90) กรมควบคุมโรค ความรอบรู้ด้านสุขภาพ(Healthy Literacy) ตัวชี้วัด หน่วยงานที่รับผิดชอบ ร้อยละของประชาชนกลุ่มเสี่ยงโรคเบาหวาน/ความดันโลหิตสูงที่มีการปรับพฤติกรรม 3 อ 2 ส และลดเสี่ยง (ไม่น้อยกว่า 50) กรมสนับสนุนฯ* กรมคร. กรมสุขภาพจิต กรมอนามัย สป.รพสต

26 การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ หน่วยงานที่รับผิดชอบ
รายงานตัวชี้วัด การพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ตัวชี้วัด หน่วยงานที่รับผิดชอบ สัดส่วนของจำนวนผู้ป่วยนอก เบาหวาน/ความดันโลหิตสูง ที่ไปรับการรักษาที่ ศสม./รพสต. (มากกว่าร้อยละ 50) สบรส. ร้อยละของคลินิก NCD คุณภาพ (ไม่น้อยกว่า ๗๐) กรมคร.* กรมพ. กรมสจ. ศสว.


ดาวน์โหลด ppt แนวคิด การดำเนินงาน โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง

งานนำเสนอที่คล้ายกัน


Ads by Google